หลากมิติในการจำแนกประเภทการวิจัย: มุมมองเชิงวิชาการ

ผู้แต่ง

  • วีระยุทธ พรพจน์ธนมาศ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

การวิจัย, การจำแนกประเภทงานวิจัย, เกณฑ์การจำแนก

บทคัดย่อ

การจำแนกประเภทงานวิจัยเป็นกระบวนการสำคัญที่ช่วยให้นักวิชาการและนักวิจัยสามารถทำความเข้าใจและจัดการองค์ความรู้ที่หลากหลายในการทำวิจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ บทความนี้มุ่งสำรวจเกณฑ์การจำแนกประเภทงานวิจัยที่แตกต่างกันโดยรวบรวมข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการและแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ ผลการศึกษาเผยให้เห็นเกณฑ์การจำแนกประเภทที่หลากหลายถึง 20 เกณฑ์ ซึ่งสะท้อนถึงมุมมองและจุดเน้นที่แตกต่างกันของนักวิชาการในสาขาต่าง ๆ การวิเคราะห์เหล่านี้มีความสำคัญในการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับความซับซ้อนของการวิจัย และชี้ให้เห็นถึงแนวทางที่สามารถนำไปใช้เพื่อพัฒนาวิธีการจัดการองค์ความรู้ในอนาคต

References

เครือวัลย์ ลิ้มปิยะศรีสกุล. (2530). การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จีรพรรณ กาญจนะจิตรา. (2561). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ. (2553). หลักการวิจัยทางสังคม. กรุงเทพฯ: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.

ณัฐพล ขันธไชย. (2567). วิทยาว่าด้วยระเบียบวิธีการวิจัยเชิงประจักษ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐวิภา สินสุวรรณ. (2564). การวิจัยเพื่อการโฆษณาและประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เทียนฉาย กีระนันทน์. (2544). สังคมศาสตร์วิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธนัน อนุมานราชธน. (2544). การวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร์. เชียงใหม่: เชียงใหม่พิมพ์สวย.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). การวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์.

นิภา ศรีไพโรจน์. (2531). หลักการวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ศึกษาพร.

นิภาพรรณ เจนสันติกุล. (2565). ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

บุญเฉิด โสภณ. (2550). บทที่ 1 ความหมายและความสำคัญของการวิจัย. ตำราชุดฝึกอบรมหลักสูตรนักวิจัย. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ. (น.1-23)

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2549). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักท์.

บุญเรียง ขจรศิลป์. (2543). วิธีวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2555). ระเบียบวิธีวิจัยทางการท่องเที่ยว. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

ประสพชัย พสุนนท์. (2555). การวิจัยการตลาด. กรุงเทพฯ: ท้อป.

ประดิษฐ์ ดีวัฒนกุล. (2567). ระเบียบวิธีการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปาริชาต สถาปิตานนท์. (2549). ระเบียบวิธีวิจัยการสื่อสาร. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2553). การวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2531). การวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

เพ็ญแข แสงแก้ว. (2541). การวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

มนสิช สิทธิสมบูรณ์. (2563). ศาสตร์การวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 3). พระนครศรีอยุธยา: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

มัลลิกา ธรรมจริยาวัฒน์. (2562). การวิจัยธุรกิจ. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

รวีวรรณ ชินะตระกูล. (2545). วิธีวิจัยการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: เฟื่องฟ้า พริ้นติ้ง.

รัตนะ บัวสนธ์. (2556). วิจัยเชิงคุณภาพทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฤทัยชนนี สิทธิชัย. (2565). ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับนักสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วรรณี แกมเกตุ. (2555). วิธีวิทยาการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วัชราภรณ์ สุริยาภิวัฒน์. (2560). วิจัยธุรกิจยุคใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วัลลภ ลำพาย. (2551). เทคนิควิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วัลลภัช สุขสวัสดิ์. (2560). การวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.

วิพร เกตุแก้ว. (2550). ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

วีระยุทธ พรพจน์ธนมาศ. (2557). ธรรมาภิบาลในองค์การภาครัฐ: ศึกษากรณีโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: ดุษฎีนิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วีระยุทธ พรพจน์ธนมาศ. (2566). กระบวนการวิจัย: นานาทัศนะสู่การเป็นนักวิจัยมืออาชีพ. วารสารรามคำแหง ฉบับรัฐประศาสนศาสตร์, 6(3), 95-147.

วีระยุทธ พรพจน์ธนมาศ. (2567). ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศรีเพ็ญ ทรัพย์มนชัย, มนวิกา ผดุงสิทธิ์ และนภดล ร่มโพธิ์. (2557). การวิจัยทางธุรกิจ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.

ศศิพัฒน์ ยอดเพชร. (2551). ระเบียบวิธีวิจัยทางสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เทพเพ็ญวานิสย์.

ศิริพงษ์ เศาภายน. (2546). การวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: บุ๊ค พอยท์.

ศุภชัย ยาวะประภาษ. (2544). การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สายฝน ไชยศรี. (2565). ระเบียบวิธีการวิจัยทางด้านสังคมศาสตร์ : การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุจิตรา บุณยรัตพันธุ์. (2563). ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับรัฐประศาสนศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 19). กรุงเทพฯ : คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2546). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: สามลดา.

สุภางค์ จันทวานิช. (2550). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์. (2555). ระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.

สุวิทย์ ภาณุจารี. (2563). การวิจัยทางการบริหารการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.

สุวิมล ติรกานันท์. (2549). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อรพรรณ คงมาลัย และ อัญณิฐา ดิษฐานนท์. (2562). เทคนิควิจัยด้านการบริหารเทคโนโลยีและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อรุณี อ่อนสวัสดิ์. (2551). ระเบียบวิธีวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 3). พิษณุโลก: ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.

อัญชนา ณ ระนอง. (2554). ระเบียบวิธีวิจัย. กรุงเทพฯ: แสงสว่างเวิลด์เพรส.

อุดม ทุมโฆสิต. (2567). การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์และสังคมศาสตร์ : ศาสตร์แห่งองค์ความรู้และวิธีวิทยาการวิจัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์รัตนไตร.

Babbie, E. 2010. The Practice of Social Research. (12th ed). Boston, MA: Wadsworth, Cengage Learning.

Bordens, K. S. and Abbott, B. B. (2011). Research Design and Methods: A Process Approach. (8th ed.). Boston: McGraw-Hill Higher Education.

Cozby, P. C. (2009). Methods in Behavioral Research. (10th ed.). U.S.A.: McGraw-Hill Higher Education.

Creswell, J. W. (2009). Research Design: Qualitative, Quantitative, and Mixed Methods Approaches. (3rd ed.). Thousand Oaks. CA: Sage Publication.

Gay, L. R., Mills, G. E., and Airasian, P. W. (2014). Education Research: Competencies for Analysis and Applications. (10th ed.). Upper Saddle River, NJ.: Pearson Education.

Gray, D. E. (2009). Doing Research in the Real World. (2nd ed.). Thousand Oaks. CA: Sage Publication.

Fraenkel, J. R., Wallen, N. E., and Hyun, H. H. (2019). How to Design and Evaluate Research in Education. (10th ed.). Boston: McGraw-Hill.

Johnson, B., and Christensen, L. (2012). Educational Research: Quantitative, Qualitative, and Mixed Approaches. (4th ed.). Thousand Oaks, CA: SAGE Publication, Inc.

Saunders, M., Lewis, P., and Thornhill, A. (2016). Research Methods for Business Students. (7th ed.). London: Pearson Education.

Shaughnessy, J., Zechmeister, E., and Zechmeister, J. (2015). Research Methods in Psychology. (10th ed.). New York: McGraw-Hill.

เผยแพร่แล้ว

20-04-2025

How to Cite

พรพจน์ธนมาศ ว. . (2025). หลากมิติในการจำแนกประเภทการวิจัย: มุมมองเชิงวิชาการ: . วารสารรามคำแหง ฉบับรัฐประศาสนศาสตร์, 8(1), 1–50. สืบค้น จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/RJPA/article/view/1339