การนำองค์กรโดยผู้นำระดับสูงในการบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิผล

Main Article Content

วีสุวรรณ เรืองตะวัน

บทคัดย่อ

           ผู้นำเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีวิสัยทัศน์กว้างไกล สามารถคาดการณ์อนาคตกำหนดทิศทาง วิเคราะห์และการตัดสินใจดำเนินการเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมาย เป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลง และทำให้ผู้ร่วมงานยอมรับร่วมปฏิบัติงาน ทฤษฎีภาวะผู้นำดังที่ได้กล่าวมาเป็นแนวคิดที่เกิดจากการวิเคราะห์วิจัย ภาวะผู้นำดังกล่าวจะพบว่า ภาวะผู้นำเป็นสภาพการ หรือสถานะของผู้นำ ที่แสดงออกให้เห็นประจักษ์ และดำเนินการ อันเป็นผลต่อกลุ่มสังคม มุ่งจะก่อให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายของกลุ่ม และเป็นผลให้สมาชิกเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน วัฒนธรรมที่มีความเข้มแข็งก็จะส่งผลต่อประสิทธิผลขององค์การทั้งในด้านวัฒนธรรมองค์การ กลยุทธ์ สภาพแวดล้อมและเทคโนโลยี คุณลักษณะด้านบุคลิกภาพ ด้านแรงจูงใจ และด้านความสามารถ ที่จำเป็นต่อความมีประสิทธิผลต่อนักบริหาร ตรงกับกับ ทฤษฎีบุคคลและสถานการณ์ (Personal-Situation Theory) เป็นทฤษฎีที่เกิดขึ้นจากการวิเคราะห์ถึงผลการที่บุคคลเข้าไปเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ต่าง ๆ เป็นผลให้เกิดภาวะผู้นำได้ หรือเรียกว่า สถานการณ์สามารถสร้างผู้นำขึ้นมาได้ มักจะเป็นไปตามสถานการณ์นั้น หมายถึง ปฏิกิริยาและสิ่งแวดล้อมของกลุ่มสังคม สามารถสร้างภาวะผู้นำขึ้นมาได้

Article Details

How to Cite
เรืองตะวัน ว. (2024). การนำองค์กรโดยผู้นำระดับสูงในการบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิผล. Journal of Organizational Management Excellence, 1(6), 1–17. สืบค้น จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/JOME/article/view/572
บท
Articles

References

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (2548). คลื่นลูกที่ 5 ปราชญ์สังคม. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพมหานคร: ซัคเซสมีเดีย

ครรชิต พุทธโกษา. (2554). คู่มือการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

พงศักดิ์ อังกสิทธ์. (2544). การพัฒนาภาวะผู้นำในงานส่งเสริมการเกษตร. เอกสารการสอนชุดวิชาการเป็นผู้นำ มนุษยสัมพันธ์และจิตวิทยาสำหรับเกษตรกร. นนทบุรี: สุโขทัยธรรมธิราช.

พงษ์เทพ จันทรสุวรรณ (2553). ประสิทธิผลองค์การ : ปฏิบทแห่งมโนทัศน์. วารสารร่มพฤกษ์. 28 (3), 133-182.

พรทิพย์ สุประดิษฐ์ และ รุจินาถ อรรถสิษฐ. (2548). สู่เส้นทางสร้างสุขภาพชุมชน. กรุงเทพมหานคร: อุษาการพิมพ์.

พิทยา บวรวัฒนา. (2541). รัฐประศาสนศาสตร์ ทฤษฎีและแนวการศึกษา (ค..ศ 1970-1980). (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภารดี อนันต์นาวี. (2557). หลักการ แนวคิด ทฤษฎี ทางการบริหารการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มนตรี จำกัด.

รังสรรค์ โฉมยา. (2546). ประสิทธิผลตามแนวคิดของความเป็นเลิศด้านพฤติกรรมสุขภาพของโรงพยาบาลของรัฐ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วันชัย มีชาติ. (2548). การบริหารองค์การ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิเชียร วิทยอุดม (2559). ภาวะผู้นำ. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.

วิรัช สงวนวงศ์วาน. (2550). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพมหานคร: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า.

ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร. (2549). การแสวงหาและแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารมืออาชีพ กรณี ผู้บริหารสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาล์น.

สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2546). ทฤษฎีและกลยุทธ์ในการพัฒนาสังคม. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรจิตย์ ผิวงาม. (2558). ภาวะผู้นำที่มีประสิทธิผลของผู้บริหารในโรงเรียนดีเด่น : พหุกรณีศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์. 38 (4), 168-176.

เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2552). ภาวะผู้นำ. ประมวลสาระวิชาทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา หน่วยที่ 5-8. (พิมพ์ครั้งที่ 9). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Downson, S. (1996). Analysis Organization Basingstoke Hamshire. Macmillan Press.

Etzioni, A. (1964). Model Organization. New Jersey: Prentice-Hall Inc.

Gibson, Ivancevich and Donnelly. (1997). Organization behavior structure process. (9th). New York: McGrew-Hill.

Lok, P. and Crawford, J. (2000). “The application of diagnostic Model and Survey in Organization Development,” Journal of Management Psychology. 15 (2), 1-7.

Vappu, T.L. (1998). “Inside and Outsiders : Women’s movement and Organization effectiveness,” Canadian Review of Sociology and Anthropology. 33 (3), 391-410.