การบริหารงานบุคคลเชิงกลยุทธ์ในยุคสังคมดิจิทัลตามหลักพรหมวิหาร 4
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอการบริหารงานบุคคลเชิงกลยุทธ์ในยุคสังคมดิจิทัล โดยนำหลักพรหมวิหาร 4 มาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เอื้อต่อการทำงานร่วมกันและส่งเสริมประสิทธิภาพของบุคลากรการนำหลักพรหมวิหาร 4 มาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานบุคคลเชิงกลยุทธ์ ในยุคดิจิทัล การวางแผนและดำเนินการต่างๆ อย่างเป็นระบบ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้โดยอาศัยการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันและคาดการณ์อนาคต เพื่อกำหนดทิศทางและแนวทางในการดำเนินงานให้สอดคล้องกับเป้าหมายนั้นๆสามารถช่วยให้องค์กรบรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้บริหารกับบุคลากร การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร การสร้างสรรค์นวัตกรรม และการปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล นอกจากนี้ ยังได้เสนอแนวทางการนำหลักพรหมวิหาร 4 มาประยุกต์ใช้ในบริบทขององค์กรต่างๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ในวารสารวารสารการบริหารการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น รวมทั้งผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ซึ่งทางวารสารได้กำหนดความซ้ำของผลงานด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25%
ในกรณีที่ บทความวิจัยมีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้นิพนธ์จะต้องส่งหลักฐานการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มาประกอบการลงตีพิมพ์ด้วยจึงจะได้รับการพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสาร
ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารการบริหารการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของวารสารการบริหารการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ โดยรวมทั้งทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารการบริหารการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการวารสารการบริหารการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์ และวารสารการบริหารการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
จักรกฤษณ์ โพดาพล. (2558). ผู้บริหารกับพรหมวิหารธรรม. แหล่งที่มา https://shorturl.asia/vBA3V สืบค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2567.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2545). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ณัฐวุฒิ พงศ์สิริ. (2563). HR การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในยุคดิจิทัล. แหล่งที่มา https://www.khonatwork.com/post/digital-economy-digital-hr. สืบคนเมื่อ 30 สิงหาคม 2567.
ประคอง สุคนธจิตต์. (2562). ทรัพยากรมนุษย์ ยุค 4.0. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกริก.
ประภาพรรณ กัณทวงษ์ และนิศารัตน์ โชติเชย. (2565). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในการก้าวสู่ยุค Digital HR. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย. 12(1). 12.
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2534). การศึกษากับการพัฒนาทรัพยากรมนษยุ์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพมหานคร: เอส.อาร์. พริ้นติ้งแมสโปรดักส์.
พระมหาปริญญา เตชปญฺโญ. (2564). การบริหารงานบุคคลในยุคดิจิทัล. วารสารการสอนสังคมศึกษา. 3(2). 185-193.
มณีรัตน์ ชัยยะ และเพ็ญศรี ฉิรินัง. (2566). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภายใต้การเปลี่ยนแปลงสู่ยุคดิจิทัล (Digital HR). Journal of Administrative and Management Innovation. 11(1). 104-113.
มหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์เนีย. (2550). สูตรสำเร็จการพัฒนาตนเอง. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์เนีย.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2547). เอกสารการเรียนรู้การพัฒนาการบริหารสถาบันการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3. (2567). การจัดการเชิงกลยุทธ์. แหล่งที่มา https://shorturl.asia/WIGwF สืบคนเมื่อ 10 กันยายน 2567.
อุษณีย์ จิตตะปาโล และนุตประวีณ์ เลิศกาญจนวัติ. (2548). การบริหารงานบุคคล. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
Quality The Story. (2566). การบริหารกำลังคนในยุค Digital HR 5.0. แหล่งที่มา https://shorturl.asia/HYzX1 สืบคนเมื่อ 30 สิงหาคม 2567.