การจัดการศึกษาสำหรับเด็กและเยาวชนตามแนวพุทธ : กรณีศึกษาสามเณรบัณฑิต

Main Article Content

พระปลัดระพิน พุทธิสาโร

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสะท้อนคิดศึกษาการจัดการศึกษาสำหรับเด็กและเยาวชนตามแนวพุทธ โดยใช้วิธีการศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเขียนนำเสนอในรูปบทความวิชาการ ผลการศึกษาพบว่า เด็กและเยาวชนเป็นสิ่งที่ทรงคุณค่าสำหรับพระพุทธศาสนา โดยพระพุทธศาสนาเห็นว่าเด็กและเยาวชนเป็นกลุ่มที่ต้องไม่ถูกเลือกปฏิบัติในการพัฒนา ซึ่งหมายถึงสามารถพัฒนาและเข้าถึงการศึกษาได้อย่างไม่จำกัด และเป็นกลุ่มทรัพยากรบุคคลที่ต้องได้รับการพัฒนา โดยในทางพระพุทธศาสนามีกลุ่มเด็กและเยาวชนจำนวนหลายท่านที่ปรากฏหลักฐานว่าได้เข้าสู่กระบวนการพัฒนาตามแนวพุทธ โดยมีบุคคลหนึ่งในจำนวนนั้นคือสามเณรบัณฑิต ที่ใช้การศึกษาตามอัธยาศรัยด้วยการเรียนรู้จากสถานที่จริง นำไปสู่การเรียนรู้เชิงประจักษ์ และนำไปสู่การเข้าถึงเป้าหมายสูงสุสดของการศึกษาได้ ดังปรากฏเป็นหลักฐานในครั้งพุทธกาล สะท้อนและยืนยันในเรื่องเด็กและเยาวชนกับการเข้าถึงการเรียนรู้และพัฒนาในฐานะทรัพยากรมนุษย์

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ. (2564). พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2564. สืบค้น 2 ธันวาคม 2566. จาก https://ethics.kmutt.ac.th/wp-content/uploads/2021/05/5-พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก-พ.ศ.-2546.pdf.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. สืบค้น 2 ธันวาคม 2566. จาก https://cr3.go.th/wp-content/uploads/2020/07/พรบการศึกษาแห่งชาติ.pdf.

พรทิพย์ พรมชาติ. (2550). ศึกษาเชิงเปรียบเทียบการบรรลุธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท กับการบรรลุธรรมแบบฉับพลันในคำสอนของพระโพธิธรรม. (พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).

พระมหากฤษฎา ทอนชัย และ พระมหาอดิเดช สติวโร. (2564). ศึกษาวิเคราะห์การพัฒนาตนของสามเณรตามหลักสามเณรสิกขาในคัมภีร์พระพุทธศาสนา. วารสาร มจร พุทธศาสตร์ปริทรรศน์, 5(2), 103-117.

พระมหาวชิราวุฒิ, วชิรเมธี สิทธิโชค ปาณะศรี และ สวัสดิ์ อโณทัย. (2562). ศึกษาวิเคราะห์การบรรลุธรรมของบัณฑิตสามเณร. Journal of Buddhist Anthropology, 4(1), 32–43.

พระมหาวิสุทธิ์ ธมฺมธีโร. (2558). ศึกษากัลยาณมิตรที่มีผลต่อการบรรลุธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท. (พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).