การประกอบสร้างความเป็นไทยของคนไทยในสหรัฐอเมริกา: แนวคิดว่าด้วยรัฐชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

Main Article Content

พระราชวัชรสารบัณฑิต (ประสาร จนฺทสาโร)
พระครูสุธีกิตติบัณฑิต (กฤษฎา กิตฺติโสภโณ)
พระปลัดระพิน พุทธิสาโร

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์วิเคราะห์แนวคิดการประกอบสร้างความเป็นไทยผ่านชุมชนวัดไทยในสหรัฐอเมริกา โดยใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร งานวิจัย การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์ เขียนเป็นความเรียง ผลการศึกษาพบว่า วัดและพระสงฆ์เป็นจุดส่งผ่านความเป็นไทยภายใต้วิถีทางวัฒนธรรม ผ่านการผลิตซ้ำต่อสำนึกความเป็นไทย ผ่านวิถีทางศาสนา ทั้งในส่วนของพิธีกรรม เช่น พิธีทอดกฐินพระราชทาน อาหารไทย ดนตรีไทย ภาษาไทย และการจัดกิจกรรมที่เนื่องด้วยวิถีแบบไทย โดยมีวัดเป็นศูนย์กลางในการดำเนินการขับเคลื่อน  ประหนึ่งยกวัดจากประเทศไทยมาเป็นหน่วยหนึ่งของชุมชนไทยในต่างแดน จนกระทั่งกลายเป็นเอกลักษณ์ในความเป็นไทยในสหรัฐอเมริกา

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กนกวรรณ เกิดผลานันท์. (2564). “การทูตวัฒนธรรม” บอกความเป็นไทยมุมใหม่. สืบค้น 15 พฤศจิกายน 2565. จาก https://inews.bangkokbiznews.com/read/423081.

กฤษกนก ลิมวัฒนานนท์ชัย. (2556). “พระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อการก่อรูปของงานสถาปัตยกรรมแบบ “รักชาติ” ในรัชสมัย (พ.ศ. 2453-2468)”. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ทีมงานโลก 360 องศา. (2558). ความเป็นไทยมีคุณค่า และสร้างมูลค่าได้ในต่างประเทศ. สืบค้น 15 พฤศจิกายน 2565. จาก https://www.posttoday.com/life/travel/358669.

ธันยชนก มูลนิลตา. (2561). กระบวนการสื่อสารอัตลักษณ์ความเป็นไทยและการรับรู้ภาพลักษณ์ความเป็นไทยของนักท่องเที่ยวชาวจีนผ่านสื่อสังคมออนไลน์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระครูปลัดสงวน วิสุทธิญาโณ. (2564). วัดพระธาตุดอยสุเทพ. สัมภาษณ์. 7 พฤศจิกายน 2564.

พระครูวิเทศกัลยาณธรรม. (2564). วัดพระธาตุดอยสุเทพ. สัมภาษณ์. 7 พฤศจิกายน 2564.

พระปลัดธนา ชินทตฺโต. (2564). วัดมงคลรัตนาราม แทมป้า. สัมภาษณ์. 7 พฤศจิกายน 2564.

พระมงคลรัตนวิเทศ. (2564). เจ้าอาวาสวัดมงคลรัตนาราม. สัมภาษณ์. 7 พฤศจิกายน 2564.

พระมหาประทวน ธมฺมรกฺขิโต. (2564). วัดพระธาตุดอยสุเทพ. สัมภาษณ์. 7 พฤศจิกายน 2564.

พระสมุห์สมพงษ์ สมวํโส. (2564). วัดมงคลรัตนาราม แทมป้า. สัมภาษณ์. 7 พฤศจิกายน 2564.

พีร์ พงศ์พิพัฒนพันธุ์. (2556). ข้อสังเกตกรณี “พระธรรมทูตไทย”ในอเมริกา. สืบค้น 15 พฤศจิกายน 2565. จาก https://www.gotoknow.org/posts/521562.

สมพร ขุนเพชร. (2558). การธำรงและพลวัตวัฒนธรรมพุทธศาสนา ของชาวมาเลเซียเชื้อสายไทย ในรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย. อินทนิลทักษิณสาร, 10(1), 143-158.

สายชล สัตยานุรักษ์. (2550). ประวัติศาสตร์วิธีคิดเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมไทยของปัญญาชน (พ.ศ. 2435-2535). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อภิชนม์ สัจจะพัฒนกุล. (2561). มโนทัศน์ “ความเป็นไทย” ในวิชาสังคมศึกษา: การเปลี่ยนผ่านบนพื้นที่เชิงอำนาจในสังคมยุคหลังสมัยใหม่. วารสารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน, 8(2), 221-245.

อารีย์ เกาะเต้น และ กฤษฎา นันทเพ็ชร. (2561). การพัฒนารูปแบบการบริหารศูนย์ปฏิบัติธรรม ในประเทศสหรัฐอเมริกา. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์, 6(4), 1448-1460.

Eng Tola และ บัญญัติ สาลี. (2561). คำเรียกญาติของคนไทยเกาะกง ราชอาณาจักรกัมพูชา. วารสารช่อพะยอม, 29(2), 89-98.

Jackson, A. Peter. (1989). Buddhism, Legitimation, and Conflict: The Political Functions of Urban Thai Buddhism. Singapore: Institute of Southeast Asian Studies.

Padgett, Douglas W. (2002). The translating temple: diasporic Buddhism in Florida. In Prebish, Charles S. and Baumann, M. (Eds.). Westward Dharma: Buddhism Beyond Asia. (pp. 201 – 217). Berkeley: University of California Press.

Swearer, Donald K. (1995). The Buddhist World of Southeast Asia. Albany: SUNY Press.

Wendy Cadge & Sidhorn Sangdhanoo. (2006). Thai Buddhism in America: an historical and contemporary overview. Retrieved 2 September 2022. from https://www.tandfonline.com/doi/full/10.1080/14639940500129421.

Wikipedia. (2022). Thai Americans. Retrieved 2 September 2022. from https://en.wikipedia.org/wiki/Thai_Americans.