การใช้ทรัพยากรการเรียนรู้แบบเปิดเพื่อส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัล

Main Article Content

ธนารักษ์ สารเถื่อนแก้ว

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการใช้ทรัพยากรการเรียนรู้แบบเปิดเป็นกระบวนการที่สำคัญเพื่อส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัลในผู้เรียนในยุคปัจจุบัน การนำเทคโนโลยีและทรัพยากรการเรียนรู้ที่เปิดกว้างเข้าสู่ห้องเรียนช่วยเสริมสร้างทักษะที่จำเป็นสำหรับการใช้ชีวิตประจำวันและการทำงานในสังคมดิจิทัล บทความนี้สรุปวิธีการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนด้วยการใช้ทรัพยากรการเรียนรู้แบบเปิดเพื่อส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัลในผู้เรียนโดยเน้นที่การเข้าถึงข้อมูล การทดลองเรียนรู้ การสร้างความรู้และการสื่อสารทางดิจิทัล การนำทรัพยากรเหล่านี้เข้าสู่กระบวนการการเรียนรู้ไม่เพียงทำให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพแต่ยังเตรียมพร้อมผู้เรียนให้เข้ากับสถานการณ์ที่ต้องเผชิญหน้าในอนาคตที่ต้องมีการติดต่อสื่อสารกับเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ธีระชน พลโยธา. (2560). ความฉลาดทางวัฒนธรรมในบริบทวัฒนธรรมอาเซียน สำหรับนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี. (ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).

ปณิตา วรรณพิรุณ และ นำโชค วัฒนานัณ. (2560). ความฉลาดทางดิจิทัล. พัฒนาเทคนิคศึกษา, 29(102), 12-20.

ปิยะพงษ์ ธรรมรักษ์. (2563). การพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล โดยการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน ร่วมกับการเรียนรู้แบบไมโครเลิร์นนิ่ง. (ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีปทุม).

พีรวิชญ์ คำเจริญ และ วีรพงษ์ พลนิกรกิจ. (2661). เด็กกับการรู้เท่าทันดิจิตอล. วารสารวิชาการ นวัตกรรมสื่อสารสังคม, 6(2), 22-31.

ยืน ภู่วรวรรณ. (2564). การศึกษาวิถีใหม่. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2566. จาก https://learningdq-dc.ku.ac.th/course/?c=3&l=3.

ลักษมี คงลาภ, อัปสร เสถียรทิพย์, สรานนท์ อินทนนท์, พลินี เสริมสินสิริ และสถาบันสื่อเด็กและเยาวชน (สสย.). (2561). การจัดทำ Fact Sheet ‘ความฉลาดทางดิจิทัล’ (Digital Intelligence: DQ) และการศึกษาการรังแกกันบนโลกไซเบอร์ของวัยรุ่น “ความเป็นพลเมืองดิจิทัล”. กรุงเทพฯ: สถาบันสื่อเด็กและเยาวชน.

ลัดสะหมี พอนไซม. (2565). การพัฒนาหลักสูตรเสริมเพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางดิจิทัลของนักศึกษา มหาวิทยาลัยสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว. (ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร).

วิจารณ์ พานิช. (2557). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ตถาตาพับลิเคชั่น.

สรานนท์ อินทนนท์. (2561ก). การรักษาความปลอดภัยบนโลกไซเบอร์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิส่งเสริมสื่อเด็กและเยาวชน (สสย).

สรานนท์ อินทนนท์. (2561ข). การกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying). กรุงเทพฯ: มูลนิธิส่งเสริมสื่อเด็กและเยาวชน (สสย).

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2561). สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับการศึกษาแบบเปิด (Open Education). สืบค้น 5 กุมภาพันธ์ 2566. จาก https://www.nstda.or.th/home/knowledge_post/about-open-education/.

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2562). Open Educational Resources (OER). สืบค้น 5 กุมภาพันธ์ 2566. จาก https://www.nstda.or.th/home/knowledge_post/%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87-oer-oer-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/.

สุวดี อุปปินใจ และ พูนชัย ยาวิราช. (2562). การจัดการชั้นเรียนยุคดิจิทัล. วารสารสมาคมพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษาแห่งประเทศไทย, 1(4), 51-65.

สุวดี อุปปินใจ และ พูนชัย ยาวิราช. (2562). การจัดการชั้นเรียนยุคดิจิทัล. วารสารสมาคมพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษาแห่งประเทศไทย, 1(4), 51-65.

เสาวลักษณ์ พันธบุตร. (2560). อยู่อย่างคนร่วมสมัยในยุคดิจิทัล. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 5(2), 161-167.

Colman, A.M. (1990). Aspects of Intelligence. In I. Roth (Eds.). The Open University’s introduction to Psychology. (pp. 322–372). Hove: Lawrence Erlbaum Associates, & Milton Keynes: The Open University.

DQ WORLD PTE. LTD. (2564). ความฉลาดทางดิจิทัล (DQ). สืบค้น 5 กุมภาพันธ์ 2566. จาก https://www.dqtest.org/lang:th/.

Jampaklai N. (2565). การเรียนรู้ที่มีคุณค่า: Open Educational Resources (OER) คลังทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด. สืบค้น 5 กุมภาพันธ์ 2566. จาก https://citly.me/vzYaf.

Kalat, J.W. (1990). Introduction to Psychology. Pacific Grove: Wadsworth/Thomson Learning.

Ornstein, R. (1988). Psychology: The Study of Human Experience. (2nd ed.). Harcourt Brace Jovanovich: Orlando, FL.

Techsauce.co. (2566). 5 ทักษะดิจิทัลที่ควรมี! ในปี 2023 ถ้าไม่อยากพลาดโอกาสในการทำงาน. สืบค้น 5 กุมภาพันธ์ 2566. จาก https://netway.co.th/kb/latest-blog/5-digital-skill-2023.

Thailibrary. (2566). แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด. สืบค้น 5 กุมภาพันธ์ 2566. จาก https://www.thailibrary.in.th/2014/10/14/oer-2/.

Yuhyun Park. (2018). 8 digital life skill all children need–and a plan for teaching them. Retrieved 1 march 2023. from https://www.weforum.org/agenda/2016/09/8-digital-life-skills-all-children-need-and-a-plan-for-teaching-them/.