การจัดการแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้บนฐานเทคโนโลยี
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการจัดการแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้บนฐานเทคโนโลยี การเรียนรู้บนฐานเทคโนโลยี (Technology-based learning) เป็นรูปแบบหนึ่งของการเรียนรู้ที่นักการศึกษาใช้เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิผลเพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาความรู้ต่างๆ ได้เป็นอย่างดี การทำงานร่วมกันระหว่างผู้สอนกับแหล่งเรียนรู้บนฐานเทคโนโลยีย่อมเพิ่มศักยภาพของผู้สอนหรือสถาบันในการจัดการศึกษาได้อย่างรอบด้านและทันสมัย อย่างไรก็ดี การบริหารจัดการแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ในด้านบุคคล ด้านวัสดุอุปกรณ์ ด้านสถานที่ และด้านเครือข่ายสารสนเทศให้มีคุณภาพนั้น ย่อมจะช่วยส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กรรณิการ์ สุวรรณศรี. (2566). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. สืบค้น 7 มกราคม 2566. จาก https://shorturl.asia/7lRaf.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2560). การศึกษาบนฐานเทคโนโลยี : ฮาร์วาร์ดใช้เทคโนโลยีช่วยจัดการศึกษา. สืบค้น 7 มกราคม 2566. จาก https://citly.me/kyK6N.
ภาณุพงศ์ ธงศรี. (2563). 5 ทรัพยากรการเรียนรู้ สำหรับนักเรียน. สืบค้น 7 มกราคม 2566. จาก https://news.trueid.net/detail/ykKKX5w7PN5k.
มูลนิธิสานอนาคตการศึกษา คอนเน็กซ์อีดี. (2564). การออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน. สืบค้น 7 มกราคม 2566. จาก https://www.trueplookpanya.com/dhamma/content/87878.
รัชกฤต บวรวัฒนากร. (2566). คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการบริหารงาน. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศงานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ฝ่ายวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้น 7 มกราคม 2566. จาก https://searchlib.utcc.ac.th/library/ebook/316806.pdf.
สมยศ สุวรรณชาตรี. (2554). การจัดการระบบเครือข่ายโรงแรมโนโวเทลสุวรรณภูมิ. (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
ACODE. (2013). Guidelines for developing a Media Management Strategy. Retrieved 5 January 2023. from https://www.acode.edu.au/mod/wiki/view.php?pageid=12.
Bilousova, L. I., Kolgatina, L. S., & Kolgatin, O. H. (2020). How to achieve students’ self-management in educational activity?. Retrieved 5 January 2023. from https://citly.me/Tsy86.
Kadir, A. N. J. (2020). Instructional Media and Management of Elementary Schools Education In Kwara State, Nigeria. Indonesian Journal of Elementary Teachers Education, 1(1), 9-26.
O’Leary, R., & Ramsden, A. (2002). Virtual learning environments. Retrieved 5 January 2023. from https://citeseerx.ist.psu.edu/document?repid=rep1&type=pdf&doi=5c08f943e9d918cbaea5e6b746ddcdb373053b56.