องค์กรแห่งความสุขตามหลักปรัชญาหลังนวยุคสายกลาง

ผู้แต่ง

  • พจนา มาโนช บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

องค์กรแห่งความสุข, หลังนวยุคสายกลาง, ปรัชญา

บทคัดย่อ

บทความวิจัยฉบับนี้มุ่งวิจัยองค์กรแห่งความสุขตามหลักปรัชญาหลังนวยุคสายกลาง ผลการวิจัย พบว่า หลักปรัชญาหลังนวยุคสายกลางสนับสนุนให้เกิดความสุขในระดับปัญญา คือ สร้างสรรค์ ปรับตัว ร่วมมือ และแสวงหา องค์กรแห่งความสุขตามหลักปรัชญาหลังนวยุคจึงเป็นองค์กรแห่งการสร้างสรรค์ที่มีขีดความสามารถในการแก้ปัญหา ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งในระดับบุคคลและระดับองค์กร มีการปรับตัวด้วยกลยุทธ์การบริหารท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง ผู้บริหารมีภาวะผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง สามารถพัฒนาบุคลากรให้พร้อมต่อกระแสโลกาภิวัฒน์ ที่มี “ความเลื่อน” หรือเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ตลอดจนมีการบริหารความเสี่ยงท่ามกลางวิกฤติในบริบทการเปลี่ยนแปลง มีการสร้างความร่วมมือ ด้วยกระบวนการดำเนินงานตั้งแต่สองหน่วยงานขึ้นไปทำกิจกรรมร่วมกันภายใต้ข้อตกลงร่วมกัน มีความไว้วางใจกันในการขับเคลื่อนภารกิจ รวมถึงการระดมศักยภาพของแต่ละหน่วยงานเพื่อทำให้เกิดสำเร็จร่วมกัน มีการแสวงหาเป้าหมายร่วมกัน โดยมีการเชื่อมต่อกับภาคีเครือข่ายที่หลากหลายเพื่อการแลกเปลี่ยนเกื้อกูลทรัพยากร องค์ความรู้ เทคโนโลยีต่าง ๆ เพื่อเติมเต็มส่วนที่ขาดหายให้แก่กันและกัน

References

กมลทิพย์ ใจเที่ยง. (2562). การบริหารองค์กรแห่งความสุขในโรงเรียนประถมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 18(2), 74-93.

เจตนิพัทธ์ พิธิยานุวัฒน์ และคณะ. (2564). อุเบกขากับปรัชญาหลังนวยุคสายกลาง. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 9(5), 2051-2063.

ฉัตรชัย พงศ์ประยูร. (2550). ภูมิศาสตร์มนุษย์กับปรัชญาหลังนวยุคนิยม. วารสารราชบัณฑิตยสถาน, 32(4), 759-773.

ชัยโรจน์ นพเฉลิมโรจน์. (2565). การคิดนวัตกรรมด้วยหลักการทรงงานตามหลักปรัชญาหลังนวยุค. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน, 15(2), 111-117.

นัฎจรี เจริญสุข. (2566). การพัฒนารูปแบบการสร้างความสุขในการทำงานของอาจารย์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคใต้ของประเทศไทย. วารสารพุทธสังคมวิทยาปริทรรศน์, 8(1), 123-139.

ประคอง สุคนธจิตต์. (2562). ทรัพยากรมนุษย์ยุค 4.0. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์นายเรืออากาศ, 7(1), 17-28.

พงศกร เอี่ยมสะอาด. (2564). แนวคิดและกระบวนทัศน์ของการบริหารการเปลี่ยนแปลงในยุคหลังนวสมัย. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 10(4), 339-349.

พจนา มาโนช. (2566). ธุรกิจครอบครัวในกระบวนทรรศน์หลังนวยุคสายกลาง. วารสารปารมิตา, 5(1), 152-161.

พระธวัชชัย ชยวุฑฺโฒ, พิสิฏฐ์ โคตรสุโพธิ์ และ เทพประวิณ จันทร์แรง. (2565). รูปแบบองค์กรแห่งความสุขตามหลักสาราณียธรรมของวิทยาลัยสงฆ์ลำพูน. วารสารปัญญา, 29(3), 1-14.

ภัทรดนัย ฉลองบุญ. (2561). ความสุขในการปฏิบัติงานของบุคลากรภาครัฐ. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 6(พิเศษ), 590-599.

เมธา หริมเทพาธิป. (2563). การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนด้วยปรัชญาหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช. รายงานการวิจัย. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

รงค์ บุญสวยขวัญ. (2560). การบริหารการเปลี่ยนแปลง : กรอบแนวคิดเพื่อการวิจัย. สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์, 17(1), 39-62.

รณชัย คนบุญ, เพิ่มพูล บุญมี และ ยงยุทธ บรรจง. (2564). การบริหารจัดการความเสี่ยงของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ต่อการบริหารการเปลี่ยนแปลงในองค์กรยุควิถีใหม่. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ, 14(3), 260-274.

รวิช ตาแก้ว และคณะ. (2566). ปัจจัยพลังอํานาจของชาติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารพุทธมัคค์, 8(1), 42-53.

ศจี อินทฤทธิ์ และ สรัญณี อุเส็นยาง. (2565). นวัตกรรมการจัดการเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงาน. วารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ, 10(2), 132-141.

ษมาพร รักจรรยาบรรณ. (2560). สรรสาระองค์กรสุขภาวะ : แนวคิดและกรณีตัวอย่าง : องค์กร สุขภาพดี (Happy body). (พิมพ์ครั้งที่ 2). นครปฐม : โครงการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการความรู้.

สิริกร อมฤตวาริน และเอนก สุวรรณบัณฑิต. (2565). สุนทรียสนทนา: เครื่องมือของกระบวนทรรศน์หลังนวยุคสายกลาง. วารสารวิจัยธรรมศึกษา, 5(1), 152-161.

สุวิทย์ ฝ่ายสงค์. (2563). ตัวแบบองค์กรแห่งความสุขของมหาวิทยาลัยสงฆ์. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา : มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

อรพรรณ ขันแก้ว และ นุชนรา รัตนศิระประภา. (2565). ทักษะของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการเป็นองค์กรแห่งความสุขของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอในเขตภาคกลาง. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย, 4(2), 81-92.

Hiatt, J. (2006). ADKAR : a model for change in business, government, and our community. Colorado : Prosci Research.

Joris, V. D. V. (2014). The effectiveness and specificity of change management in a public organization: Transformational leadership and a bureaucratic organizational structure. Elsevier Ltd, 32(1), 373–382.

Martin, A. J., Jones, E. S., & Callan, V. J. (2005). The role of psychological climate in facilitating employee adjustment during organizational change. European Work and Organizational Psychology, 14(3), 263-289. Retrieved from https://doi.org/10.1080/13594320500141228

องค์กรแห่งความสุข

Downloads

เผยแพร่แล้ว

04/30/2024