การประยุกต์ใช้หลักการทรงงานข้อที่ 16 : ขาดทุนคือกำไร

ผู้แต่ง

  • ชัยโรจน์ นพเฉลิมโรจน์ มูลนิธินพเฉลิมโรจน์

คำสำคัญ:

การประยุกต์ใช้, หลักการทรงงานข้อที่ 16, ขาดทุนคือกำไร

บทคัดย่อ

          บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์หลักการทรงงานข้อที่ 16 “ขาดทุนคือกำไร” โดยใช้การวิเคราะห์เชิงแนวคิด ผ่านกรอบคิดปรัชญา โดยเฉพาะแนวคิด Inner Development Goals (IDGs) และหลักคุณธรรมตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาโมเดลการประยุกต์ใช้ที่สามารถนำไปใช้ได้ในระดับบุคคล องค์กร และสังคม ผลจากการศึกษาพบว่า การสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวมไม่ใช่การสูญเสีย แต่เป็นการลงทุนในคุณค่าที่ลึกซึ้งและยั่งยืนกว่า การศึกษานี้ได้พัฒนาโมเดล G.A.I.N. ซึ่งประกอบด้วย 4 มิติหลัก ได้แก่ (1) การเติบโตจากภายใน การพัฒนาตนเองผ่านการเสียสละและการให้ (2) ความสอดคล้องกับคุณค่าที่สูงกว่า การยึดมั่นในคุณธรรมและความถูกต้อง (3) ผลกระทบที่เกินกว่าตัวเรา การสร้างผลกระทบเชิงบวกต่อสังคม และ (4) การบ่มเพาะคุณภาพความเป็นมนุษย์ การพัฒนาความเมตตาและความเข้าใจในผู้อื่น ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด IDGs ที่เน้นการพัฒนาภายในเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงภายนอกอย่างยั่งยืน การยอมสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อประโยชน์ของผู้อื่นจึงเป็นการสร้างคุณค่าที่แท้จริงและยั่งยืนในชีวิต

References

ชัญญานุช โมราศิลป์ และทักษญา สง่าโยธิน. (2562). แนวทางการน้อมนำหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ไปใช้ในการปฏิบัติงานขององค์กรธุรกิจ. วารสารเวริดิยัน มหาวิทยาลัยศิลปากร, 12(1), 710–726.

บัณฑิต เสาวภาภรณ์, ทักษญา สง่าโยธิน และลลิต ถนอมสิงห์. (2562). การศึกษาหลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานกิจการเพื่อสังคม. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย, 13(1), 311–313.

พระอธิการสุรเดช ธมฺมทินฺโน (วโรรส). (2567). การศึกษาวิเคราะห์การให้ทานที่ปรากฏในคัมภีร์วิมานวัตถุ. วารสารวิสัยทัศน์ทางปรัชญา, 29(1), 180–198.

เมธา หริมเทพาธิป, ชัยโรจน์ นพเฉลิมโรจน์ และวัชรารัศมิ์ สุนทรวนาเวศ. (2566). ภูมิสังคม: การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน. วารสารวิจัยธรรมศึกษา, 6(2), 64–66.

เมธา หริมเทพาธิป และรวิช ตาแก้ว. (2566). สังคมแห่งการแบ่งปันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง: การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน. วารสารพุทธมัคค์, 8(1), 54–56.

รักติบูล จันทนุปาน. (2567). แนวทางการประยุกต์ใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนในชุมชนบนพื้นที่สูงบ้านปางต้นผึ้ง. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 19(3), 119–121.

ศิริ ถีอาสนา และเสน่ห์ คำสมหมาย. (2560). อภิธานศัพท์: ศาสตร์พระราชา (ในหลวงทรงสอนอะไร). วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 11(ฉบับพิเศษ), 19–32.

สุพิชฌาย์ พรพิชณรงค์, พระเทพวชิรโกศล (เทพธีรวงศ์ ไกรวาสไชยวงษ์) และพระธรรมวชิราจารย์ (สุชาติ หวลจิตต์). (2567). การบูรณาการหลักพุทธธรรมและศาสตร์พระราชาเพื่อพัฒนาชุมชนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง บ้านศรีไคออก ตำบลเมืองศรีไค อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย, 6(3), 610–611.

สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. (2559). หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร. (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ : สำนักงาน กปร.

Kant, I. (1785). Groundwork of the Metaphysic of Morals (Patton, H.J., Trans.). London: Routledge.

Lyotard, J. F. (1984). The Postmodern Condition: A Report on Knowledge. Minneapolis: University of Minnesota Press.

Ankrah, D., Bristow, J., Hires, D.& Henriksson, J. A. (2023). Inner development goals: From inner growth to outer change. Field Actions Science Reports, (25), 82–87.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

04/30/2025

How to Cite

นพเฉลิมโรจน์ ช. . (2025). การประยุกต์ใช้หลักการทรงงานข้อที่ 16 : ขาดทุนคือกำไร. วารสารสถาบันพอดี, 2(4), 57–69. สืบค้น จาก https://so16.tci-thaijo.org/index.php/IS-J/article/view/1767