การประยุกต์หลักอริยสัจ 4 ในการทำงานด้านธุรกิจ
คำสำคัญ:
ธุรกิจ, อริยสัจ 4, การประยุกต์บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและประยุกต์ใช้หลักอริยสัจ 4 ในการบริหารจัดการธุรกิจ โดยเน้นการแก้ไขปัญหาและพัฒนาองค์กรให้มีศักยภาพและความยั่งยืน งานวิจัยดำเนินการในรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิเคราะห์เอกสารและแนวคิดจากแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่าหลักอริยสัจ 4 เป็นกรอบแนวคิดที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการบริหารธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเริ่มจากการระบุปัญหา (ทุกข์) ค้นหาสาเหตุ (สมุทัย) กำหนดเป้าหมายการแก้ปัญหา (นิโรธ) และวางแผนปฏิบัติการ (มรรค) องค์ความรู้ใหม่ที่ได้จากผลการวิจัยคือโมเดล WISE ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนการประยุกต์ใช้หลักการดังกล่าวในบริบทธุรกิจ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ Witness the Problem (การระบุและยอมรับปัญหา), Investigate the Cause (การวิเคราะห์สาเหตุ), Set the Goal (การตั้งเป้าหมายที่ชัดเจน) และ Execute the Solution (การลงมือปฏิบัติ) โมเดลนี้ช่วยให้องค์กรสามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีระบบและสร้างสมดุลระหว่างผลกำไรและความยั่งยืน บทความนี้แสดงให้เห็นว่าแนวคิดจากพุทธศาสนามีศักยภาพในการสร้างคุณค่าในบริบทธุรกิจยุคใหม่
References
นรชัย ณ วิเชียร และคณะ. (2562). อริยสัจ 4 กับการพัฒนาองค์การ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี, 13(1), 165-174.
พงศ์นคร โภชากรณ์. (2567). การบูรณาการหลักพุทธธรรมเพื่อพัฒนาการบริหารจัดการโครงการ ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ. วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์, 7(3), 170-184.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2541). ประโยชน์สูงสุดของชีวิต. กรุงเทพฯ : ธรรมสภา.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2555). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 32). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ผลิธัมม์.
________. (2557). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย. (พิมพ์ครั้งที่ 37). กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
รัชตา กาญจนโรจน์ และคณะ. (2565). แบบจำลองผลการดำเนินงานทางธุรกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ภาคการผลิตของประเทศไทย. วารสารเศรษฐศาสตร์และกลยุทธ์การจัดการ, 9(1), 127-142.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2541). การบริหารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา.
สุทธาพัฒน์ อมรเรืองตระกูล และคณะ. (2564). การจัดการธุรกิจที่ส่งผลต่อความสำเร็จของธุรกิจร้านกาแฟสด ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร. วารสารการอาชีวศึกษาภาคกลาง, 5(1), 1-10.
สุวิมล มธุรส. (2563). ปัจจัยความสําเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย. ดุษฎีนิพนธ์บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยรังสิต.
อาชวัน อัศวนิก และปาณิสรา เบี้ยมุกดา. (2563). แนวทางแก้ปัญหาในองค์กร SME ในสังคมไทยตามแนวอริยสัจ 4. วารสาร มจร พุทธศาสตร์ปริทรรศน์, 4(2), 106-123.
อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2551). กลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ : เอชอาร์ เซ็นเตอร์.
อุทัย ยอดคงดี. (2553). ความสัมพันธ์ระหวางบรรยากาศองคการกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานสอนของครูโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 3. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 4(8), 81-82.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารสถาบันพอดี

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.