การประยุกต์ใช้หลักการทรงงานข้อที่ 11 : ประโยชน์ส่วนรวม
คำสำคัญ:
การประยุกต์ใช้, หลักการทรงงานข้อที่ 11, ประโยชน์ส่วนรวมบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ หลักการทรงงานข้อที่ 11: ประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งเป็นหนึ่งในหลักการทรงงาน 23 ข้อของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร การศึกษานี้มุ่งเน้นการตรวจสอบเอกสารและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหลักการทรงงานดังกล่าว รวมถึงแนวคิดทฤษฎีการมีส่วนร่วม โดยนำข้อมูลที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์เชิงลึกเพื่อค้นหาคำตอบเกี่ยวกับวิธีการและแนวทางในการประยุกต์ใช้หลักการทรงงานข้อที่ 11 ซึ่งให้ความสำคัญกับประโยชน์ส่วนรวม ผลการวิเคราะห์ พบว่า การประยุกต์ใช้หลักการทรงงานข้อที่ 11 สะท้อนถึงแนวทางการปฏิบัติที่มุ่งเน้นการให้ความสำคัญกับผลประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน การนำหลักการนี้ไปปรับใช้ช่วยสร้างความสมดุลระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมหลักธรรมาภิบาลอย่างมีส่วนร่วม อีกทั้งยังเน้นความร่วมมือของทุกภาคส่วนในสังคม เพื่อสร้างความยั่งยืนในระยะยาว หลักการดังกล่าวจึงเป็นแนวทางสำคัญที่สามารถประยุกต์ใช้ได้ในหลากหลายบริบท ตั้งแต่ระดับชุมชนจนถึงระดับประเทศ โดยส่งเสริมให้เกิดความสามัคคีและความรับผิดชอบร่วมกันในสังคม องค์ความรู้ใหม่ในครั้งนี้คือโมเดล “SAC Principles Model” ซึ่งประกอบด้วย Sustainability (ความยั่งยืน), Accountability (ความรับผิดชอบ) และ Collaboration (ความร่วมมือ) เป็นแนวทางสำคัญที่สามารถนำไปใช้ในการดำเนินงานหรือโครงการต่าง ๆ ที่เน้น “ประโยชน์ส่วนรวม” ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
References
กอบกุล วิศิษฏ์สรศักดิ์. (2560). การจัดการความขัดแย้งในงานพัฒนาชุมชน. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ Veridian มหาวิทยาลัยศิลปากร (มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ), 10(3), 1687-1700.
ชัญญานุช โมราศิลป์ และทักษญา สง่าโยธิน. (2559). แนวทางการน้อมนำหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร ไปใช้ในการปฏิบัติงานขององค์กรธุรกิจ. Humanities, Social Sciences and arts, 12(1), 710-735.
ชัยโรจน์ นพเฉลิมโรจน์. (2558). หลักคุณภาพในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริกับปรัชญาหลังนวยุค: การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. สาขาปรัชญาและ จริยศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ณรงค์วรรษ บุญมา. (2562). วิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่สนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบไทยตามแนวคิดทฤษฎีสัญญาประชาคม. งานประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 11 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. นครปฐม : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม .
พจนา มาโนช. (2567). หลักธรรมาภิบาลบนพื้นฐานปรัชญาหลังนวยุคสายกลาง. วารสารสถาบันพอดี, 1(1), 1-10.
พรรณธิภา เอี่ยมสิริปรีดา. (2561). แนวคิดและทฤษฎีในการศึกษาแรงจูงใจอาสาเพื่อการส่งเสริมการเป็น พลเมืองใส่ใจสังคม. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 13(37), 1-16.
พระมหานิยม อิสิวํโส (หาญสิงห์). (2545). การปรึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดเรื่องความสุขในทฤษฎี จริยศาสตร์ของจอห์น สจ๊วต มิลล์ กับพุทธจริยศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พีรธร บุณยรัตพันธุ์และคณะ. (2552). การจัดการความขัดแย้งกับการทำงานในชุมชน. พิษณุโลก : ทิพย์เสนาการพิมพ์.
ไพศาล เครือแสง. (2561). จริยธรรมทางการปกครองในทัศนะนักปรัชญา. วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา, 2(2), 28-31.
มนูญพงศ์ ชัยพันธุ์. (2565). จิตสาธารณะกับวิถีชีวิตของบุคคลในยุคศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 8(2), 424-435.
เมธา หริมเทพาธิป และรวิช ตาแก้ว. (2566). สังคมแห่งการแบ่งปันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน. วารสารพุทธมัคค์, 8(1), 54-65.
เมธา หริมเทพาธิป. (2561). การมีส่วนร่วมในมุมมองหลังนวยุค. รมยสาร, 16(3), 63-77.
วิเศษ แสงกาญจนวนิช. (2567). การทำดีตามหลักประโยชน์นิยม. วารสารวิจัยธรรมศึกษา. 7(1), 207-214.
สราลี โรมรัตนพันธ์. (2561). ความไว้วางใจ คุณภาพการให้บริการ การรับรู้คุณค่า และภาพลักษณ์ ส่งผลต่อความพึงพอใจ และการกลับมาใช้บริการซ้ำของสายการบินต้นทุนต่ำภายในประเทศ. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.). (2559). หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : สำนักงาน กปร.
สุรพล สุยะพรหม และคณะ. (2566). การขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริมความมั่นคงทางสังคมของชุมชน ในประเทศไทย. วารสารสังคมศาสตร์และวัฒนธรรม, 7(6), 73-85.
สุวัฒ ดวงแสนพุด. (2564). การจัดการป่าชุมชนแบบมีส่วนร่วม: กรณีศึกษาป่าชุมชนภูปอบ บ้านวังน้ำมอก ตำบลพระพุทธบาท อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 15(1), 93-107.
Bentham Jeremy. (2007). An Introduction to the Principles of Morals and Legislation. Oxford : Dover Philosophical Classics.
Koven, S.G. (2015). Public Sector Ethics: Theory and Applications. London : CRC Press.
MacIntyre, A. (1996). A Short History of Ethics. New York : Macmillan Publishing Company.
Martinez, J.M. and Richardson, W.D. (2008). Administrative Ethics in the Twenty-first Century. New York : Peter Lang Publishing, Inc.
Mill, J.S. (1951). Utilitarianism, Liberty and Representative Government. New York : E.P. Dutton and Company Inc.
United Nations. (2015). Youth population trends and sustainable development. New York : United Nations, Department of Economic and Social Affairs, Population Division.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารสถาบันพอดี

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.