วิเคราะห์บทบาทการทำงานของพระจิตอาสาคิลานธรรม
คำสำคัญ:
คิลาธรรม, พระจิตอาสา, บทบาท, การทำงานบทคัดย่อ
บทความวิจัยฉบับนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เอกสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์บทบาทการทำงานของพระจิตอาสาคิลานธรรม ผลการวิจัยพบว่า บทบาทสำคัญของพระจิตอาสาคิลานธรรมแบ่งออกเป็น 6 ด้าน ได้แก่ (1) การให้กำลังใจและดูแลด้านจิตใจ (2) การสนับสนุนการดูแลแบบองค์รวม (3) การส่งเสริมความเข้าใจธรรมะในชุมชน (4) การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (5) การสนับสนุนด้านสังคมและชุมชน และ (6) การเป็นแบบอย่างของการทำจิตอาสา บทบาทเหล่านี้สะท้อนถึงการบูรณาการหลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนากับการให้บริการด้านสุขภาพ โดยเน้นการดูแลที่ครอบคลุมทั้งร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณของผู้ป่วย ซึ่งช่วยเติมเต็มมิติที่การแพทย์แผนปัจจุบันอาจยังไม่สามารถครอบคลุมได้ทั้งหมด งานวิจัยนี้ชี้ให้เห็นว่าบทบาทของพระจิตอาสาคิลานธรรมเป็นตัวอย่างสำคัญของการนำจริยธรรมและหลักธรรมมาปรับใช้เพื่อเผชิญกับความท้าทายด้านสุขภาพในยุคปัจจุบัน อีกทั้งยังส่งเสริมคุณภาพชีวิตและสร้างความเข้มแข็งให้แก่บุคคลและชุมชน
References
กันธิชา เผือกเจริญ. (2556). ศึกษากระบวนการทำงานของจิตอาสากรณีศึกษาการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย อโรคยศาล วัดคำประมง จังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
จรีรัตน์ อินทวัฒน์, ธนพล บรรดาศักดิ์ และนฤมล จันทรเกษม. (2560). กระบวนทัศน์ในการดูแลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ : บทเรียนจากค่ายคิลานธรรม. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 5(2), 376-387.
ชมพูนุท ศรีจันทร์นิล. (2552). จิตวิทยาแนวพุทธ: แนวทางเพื่อการเยียวยาและพัฒนาจิตใจมนุษย์. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. 29(4), 192-193.
จำนงค์ ทองประเสริฐ. (2553). พุทธจักรโลกร่มเย็นดับเข็ญได้ด้วยศาสนา. วารสารพุทธจักร, 64(5), 36-38.
ณัฐณิชากร ศรีบริบูรณ์. (2550). การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของจิตอาสาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดวงมณี จงรักษ์. (2549). ทฤษฎีการให้การปรึกษาและ จิตบำบัดเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริม เทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น).
ดวงรัตน์ ศุขะนิล. (2553). “บทบาทพยาบาลชาวพุทธในการดูแลผู้ป่วยในมรณะวิถี : โรงพยาบาลวชิรพยาบาล”. สารนิพนธ์ศิลปศาสตรบัณทิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหิดล.
เต็มศักดิ์ พึ่งรัศมี, วิรัช วุฒิภูมิ และสิรินทร์ ศาสตรนุรักษ์. (2542). วิถีแห่งการคลายทุกข์. กรุงเทพฯ : บริษัทพิมพ์ดี จำกัด.
ปราโมทย์ เซาว์ศิลป์. (2528). จิตบำบัดชนิดอิงทฤษฎีจิตวิเคราะห์. กรุงเทพฯ : ชมรมนักจิตบำบัดแห่งประเทศไทย.
พระครูธำรงวงศ์วิสุทธิ์ (ธีรศักดิ์ ธีรสกฺโก). (2565). โมเดลการพัฒนาการจัดการงานสาธารณสงเคราะห์วิถีพุทธของคณะสงฆ์ไทย. ดุษฎีนิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตโต). (2538). ธรรมมนูญชีวิต : พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม. พิมพ์ครั้งที่ 170. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระบัวสอน ทองสลับ. (2563). บทบาทของพระสงฆ์ต่อการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตปกครองของคณะสงฆ์ภาค 10. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). (2552). เครื่องวัดความเจริญของชาวพุทธ (อารยวัฑฒิ). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2558). ศาสนาโลก. มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์, 32(3), 49-69.
พินิจ ลาภธนานนท์ และคณะ. (2563). การถอดบทเรียน : สาธารณสงเคราะห์วิถีพุทธของคณะสงฆ์ไทย ชุดถอด บทเรียนสาธารณสงเคราะห์วิถีพุทธ เล่ม 2. นนทบุรี : นิติธรรมการพิมพ์.
พิรญาณ์ แสงปัญญา. (2565). บทบาทของพระสงฆ์ด้านสาธารณสงเคราะห์ในบริบทพุทธศาสนาเพื่อสังคม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พุทธชาติ แผนสมบุญ. (2562). ประสบการณ์การเยียวยาจิตใจผู้ป่วยของพระสงฆ์จิตอาสากลุ่ม คิลานธรรม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม และสังคม สัญจร. (2543). สำนึกไทยที่พึงปรารถนา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เดือนตุลา.
สุพิชฌาย์ พรพิชณรงค์ และพระมหาวิโรจน์ คุตฺตวีโร. (2561). การพัฒนาศักยภาพและกิจกรรมการเยียวยาใจผู้ป่วยด้วยธรรมะของกลุ่มพระจิตอาสาคิลานธรรม. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, 14(3), 65-74.
Di Mola G, Le cure palliative. (1987). Approccio assistenssiale al malati terminali. Floriani : Milano.
Oliner, S. P. (2011). The nature of good and evil: Understanding the acts of moral and immoral behavior. St. Paul, MN : Paragon House.
Watson, J. (2008). Nursing : the philosophy and science of caring. Boulder. Cololado : University Press of Colorado.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารสถาบันพอดี

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.