Guidelines for developing participation in water management. Case study of underground water bank Ban Don Kho, Village No. 2, Na Riang Subdistrict, Phrom Khiri District Nakhon Si Thammarat Province

Main Article Content

Suminthra Madlu
Pannita Suphaproj
Daycho Khaenamkhaew
Pongprasit Onchan
Chettha Muhamad

Abstract

This research article aims to study the guidelines for developing participation in water management, Case study of underground water bank Ban Don Kho, Village No. 2, Na Riang Subdistrict, Phrom Khiri District Nakhon Si Thammarat Province. This qualitative research utilized interviews as the primary research tool. The key informants were selected through purposive sampling, comprising 16 individuals, including community leaders and current users of the underground water bank. Data were collected and analyzed descriptively. The research findings revealed that the underground water bank is used to provide water for household consumption and agriculture, helping to alleviate drought and flood problems. The following are the guidelines for participatory water management of the underground water bank: 1) “Collaborative Decision-Making” Involves participation in decision-making starting from brainstorming and coordinating efforts to create a water bank that benefits daily life. 2) “Shared Investment” Includes shared costs in terms of budget, human resources, and natural resources, which are used to maintain the underground water bank. 3) “Consensus Building” Participation in building consensus or agreements with the villagers and other stakeholders through democratic decision-making processes. 4) “Shared Benefits” Involves community participation in integrating or applying the underground water bank concept for livelihood purposes, such as using water for household consumption and agriculture. 5) “Collaborative Evaluation” Includes ongoing monitoring and evaluation throughout the implementation of the underground water bank, which has received positive feedback due to the clear benefits obtained.

Article Details

How to Cite
Madlu, S., Suphaproj, P., Khaenamkhaew, D., Onchan, P., & Muhamad, C. (2024). Guidelines for developing participation in water management. Case study of underground water bank Ban Don Kho, Village No. 2, Na Riang Subdistrict, Phrom Khiri District Nakhon Si Thammarat Province. Journal of Spatial Development and Policy, 2(5), 1–12. retrieved from https://so16.tci-thaijo.org/index.php/JSDP/article/view/969
Section
Research Articles

References

ขวัญใจ เปือยหนองแข้ และ ภักดี โพธิ์สิงห์. (2564). ถอดรหัสโมเดลการพัฒนานวัตกรรมท้องถิ่นด้านระบบธนาคารน้ำใต้ดินขององค์การบริหารส่วนตำบลระบำ อำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 7(2), 341-359.

จินตวีร์ เกษมศุข. (2561). แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืน. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 26(50), 169-186.

จิรภัณฑ์ จ้ายหนองบัว. (2567). การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำโดยชุมชน กรณีศึกษาอ่างเก็บน้ำละเลิงหวาย อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น. Journal of Spatial Development and Policy, 2(2), 13-26.

โชคสุข กรกิตติชัย. (2563). รายการร้อยเรื่องเมืองไทย. กรุงเทพฯ: สถานีวิทยุกระจายเสียงรัฐสภาและสำนักวิชาการ กรุงเทพมหานคร.

ธนกฤต รุ่งแสนทวี, ภักดี โพธิ์สิงห์ และ ขวัญใจ เปือยหนองแข้. (2565). นวัตกรรมธนาคารน้ำใต้ดินแก้ปัญหาน้ำทั้งระบบแบบมีส่วนร่วมกับชุมชนขององค์การบริหารส่วนตำบลเก่าขาม อำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 8(3), 373-382.

ธนกฤต รุ่งแสนทวี, สัญญา เคณาภูมิ และ เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร. (2566). นวัตกรรมธนาคารน้ําใต้ดินในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารสหวิทยาการวิจัยและวิชาการ, 3(2), 125-142.

บัญชา จันทราช. (2566). นวัตกรรมธนาคารน้ำใต้ดินเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มกับสินค้าเกษตรในครัวเรือนอย่างยั่งยืน อำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารสหวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 7(1), 18-32.

พระวินัย อานนฺโท. (2566). การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ของเทศบาลตำบลสุวรรณภูมิ อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. Journal of Spatial Development and Policy, 1(6), 61-74.

สุกัญญา อัตถาชน, พิมพ์พร ภูครองเพชร และ นิรันดร คำนุ. (2567). แนวทางการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะรอบอ่างห้วยหินเหิบ กรณีศึกษา บ้านหนองโจด ตำบลโคกก่อ อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม. Journal of Spatial Development and Policy, 2(3), 39-48.

เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร, สัญญา เคณาภูมิ, วาสนา บรรลือหาญ และ อาภากร ประจันตะเสน. (2563). การจัดการทรัพยากรน้ำ : แนวคิดธนาคารน้ำใต้ดิน จากชุมชนเก่าขามอุบลราชธานีสู่ชุมชนหนองมะโมงชัยนาท. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 5(1), 395-408.