อิทธิพลความเชื่อเรื่องกรรมที่มีต่อบุคคลในสังคมไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอ “อิทธิพลความเชื่อเรื่องกรรมที่มีต่อบุคคลในสังคมปัจจุบัน” สำหรับอิทธิพลความเชื่อเรื่องกรรมมีความสำคัญและส่งผลให้บุคคลเปลี่ยนพฤติกรรมได้ โดยความเชื่อเรื่องกรรมนั้นประกอบด้วยแนวคิดและแนวปฏิบัติ ในด้านแนวคิดการที่บุคคลมีแนวคิดที่เป็นสัมมาทิฎฐิย่อมประพฤติถูกต้อง ปฏิบัติตามหลักคำสอนในพระพุทธศาสนา ส่วนในด้านแนวปฏิบัติ มีการให้ทาน การรักษาศีลและการเจริญภาวนา เป็นต้น บุคคลผู้มีความเชื่อเรื่องกรรมจะให้ความสำคัญในการปฏิบัติมาก เพราะทุกคนเชื่อว่าจะต้องได้รับผลของกรรมที่ตนทำไว้อย่างแน่นอน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
เกียรติวรรณ อมาตยกุล. (2530). วิถีแห่งพุทธะ:วิถีชีวิตแห่งความสุข. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
พระธรรมกิตติวงศ์. (2550). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด ศัพท์วิเคราะห์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เลี่ยงเชียง.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2552). วิธีบูรณาการพระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ หจก.ไทยรายวันการพิมพ์.
พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาส อินฺทปญฺโญ). (2539). กรรมและการอยู่เหนือกรรม. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2538). นรกสวรรค์สำหรับคนรุ่นใหม่. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก จำกัด.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2540). ชีวิตที่ดีงาม หลักทั่วไปของการปฏิบัติธรรม. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2544). พุทธธรรม (ฉบับเดิม). กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). พุทธธรรม (ฉบับปรับปรุงและขยายความ). (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมวิสุทธิกวี (พิจิตร ฐิตวณฺโณ). (2549). กฎแห่งกรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์บุ๊คส์.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2547). แก่นแท้ของพุทธศาสนา แก่นธรรมเพื่อชีวิต. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สื่อตะวัน.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2549). วิธีคิดตามหลักพุทธธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: ศยาม.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 17). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร (พรรณา). (2546). พระพุทธศาสนาเพื่อสังคม : กรณีศึกษาการตีความศีลห้าของเครือข่ายพุทธศาสนิกเพื่อสังคมนานาชาติ. (พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).
พุทธทาสภิกขุ. (2543). บุญยิ่งกว่าบุญ. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.
ไพลิน เตชะวิวัฒนาการ. (2538). เกณฑ์ตัดสินความดีในพุทธปรัชญาเถรวาทเปรียบเทียบกับปรัชญาของคานท์. Journal of Buddhist Studies Chulalongkorn University, 2(2), 30–42.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วรินทร์ วิชญานุโรจน์. (2549). เข้าใจ เข้าถึง พระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: หจก.สามลดา.
วศิน อินทรสระ. (2545). หลักกรรมและการเวียนว่ายตายเกิด. (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย จำกัด.
สนิท ไชยวงศ์คต. (2552). ศีลห้าพาโลกสู่สันติ. พุทธจักร, 63(8), 52-62.
สภาการศึกษา มหามกุฏราชวิทยาลัย. 1 ใน 84000. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก. (2550). วิธีสร้างบุญบารมี. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: พิมพ์สวย.