กล้วย : สายพันธุ์ การปลูก คุณค่าทางอาหาร การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์สร้างมูลค่า และพุทธพจน์ที่ว่าด้วยเรื่องกล้วย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้เขียนถึงกล้วยในมิติต่างๆ ทั้งในส่วนของแนวทางการปลูก คุณค่าทางอาหาร หรือประโยชน์. การแปรรูปที่ปรากฏ รวมไปถึงมูลค่าที่เกิดจากกล้วย ใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร งานวิจัย การสัมภาษณ์และการสังเกต ผลการศึกษาพบว่า กล้วยมีกว่า 300 สายพันธ์ทั่วโลก ในประเทศไทยกว่า 100 สายพันธุ์ กล้วยมีประโยชน์หลายด้านตั้งแต่ลำต้น ใบ ดอก ผล ทั้งเพื่อการบริโภคเป็นแหล่งอาหารซึ่งมีคุณค่าทางโภชนาการสูง นำไปแปรรูปเป็นสินค้า ผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ หัตถรรม ศิลปกรรมงานฝีมือ หรือนำมาเป็นคติสอนใจ สำนวนไทย และคำสอนในทางพุทธศาสนาก็มี
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
จุฑามาศ พีรพัชระ, สุวรรณ ประทีป ณ ถลาง, รุจิรา จุ่นบุญ และ ธภัทร อาจศรี. (2564). การพัฒนาสื่อดิจิทัลอาหารจากกล้วยเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 9(1), 42-53.
โฉมอนันต์ โพธิวงค์, ทิพสุคนธ์ พิมพ์พิมล, สุดาพร ตงศิริ และ ชนกันต์ จิตมนัส. (2564). ประสิทธิภาพการย่อยวัตถุดิบจากกล้วยด้วยเอนไซม์จากอวัยวะย่อยอาหารของปลาหมอไทย. แก่นเกษตร, 49(3), 733-739.
ชุติพงศ์ คงสันเทียะ และ ชฎล นาคใหม่. (2566). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจ BCG: กรณีวิสาหกิจชุมชนแปรรูปกล้วย ตำบลนางิ้ว อำเภอสังคม จังหวัดหนองคาย. Humanities & Social Sciences, 40(1), 130-151.
โชติ สุวัตถิ. (2506). กล้วยป่าและกล้วยปลูกในเมืองไทย. วารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์, 3(2), 41-43.
ดวงนภา ลาภใหญ่ และ พัตรา คําสีหา. (2563). ห่วงโซ่คุณค่า และแนวทางการเพิ่มมูลค่ากล้วยไข่กําแพงเพชร สําหรับกลุ่มผู้ประกอบการในตลาดมอกล้วย. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 30(1), 94-109.
เทคโนโลยีชาวบ้านออนไลน์. (2566). กล้วยกับพิธีกรรมความเชื่อ. สืบค้น 11 มกราคม 2566 จาก https://www.technologychaoban.com/bullet-news-today/article_239732.
ธนากร เหมะสถล และ ดวงใจ พิสุทธิ์ธาราชัย. (2559). การใช้กล้วยหอมทองสุกในสูตรอาหารเลี้ยงปลานิล. แก่นเกษตร, 44(4), 687-692.
นนทนันทน์ ทองมาก, ชูศักดิ์ รุขะจี, ญาณภัทร หนูดุก, ชลลดา แซ่ด่าน และ พัฒธุ์วฒีย์ นาคแดง. (2563). การพัฒนาศักยภาพท้องถิ่นในการแปรรูปผลิตภัณฑ์และเพิ่มมูลค่ากล้วยสองน้ำ ตําบลบางโพธิ์ อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารภูมินิเวศพัฒนาอย่างยั่งยืน, 1(2), 36-46.
นฤมล จันทิมา, ศศิธรแท่นทอง และ เบญจพร ศรีสุวรมาศ. (2558). การผลิตและการตรวจสอบคุณภาพน้ำส้มสายชูจากกล้วย. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์, 7(7), 57-76.
ประภาพร พนมไพร. (2558). การตลาดเชิงสร้างสรรค์ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของเครือข่ายกลุ่มอาชีพผู้ผลิตและแปรรูปกล้วย ในจังหวัดเชียงราย. วารสารราชมงคลล้านนา, 3(1). 56-73.
พรประภา ศิริเทพทวี ฐิตาพร มณีเนตร, เปรมณัช ขุนปักษี และ ธีระชัย ธนานันต์. (2560). การประเมินความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม และการจําแนกกล้วยด้วยเครื่องหมายสก๊อต. Thai Journal of Science and Technology, 6(3), 271-278.
ไพศาล กะกุลพิมพ์. (2560).การจัดการผลิตและการตลาดกล้วยหอมทองของสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกล้วยหอมทองวังหลวง อำเภอเฝ้าไร่ จังหวัดหนองคาย. วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์, 12(2), 45-55.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มาศสกุล ภักดีอาษา. (2565). เชื้อเพลิงอัดแท่งจากเศษตะไคร้และเปลือกกล้วย. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 14(19), 107-122.
รุ่งทิพย์ โคบาล, สุภษี ดวงใส, จินตนา พลศรี, ภัททิรา แก้วเกิด, นิกร กรรณิกากลาง และ ณัฐรฐนนท์ กานต์รวีกุลธนา. (2566). การศึกษาต้นแบบการพัฒนากลยุทธ์การตลาดด้วยเนื้อหาเพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มของธุรกิจผลิตภัณฑ์จากกล้วย. วารสารวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต, 19(1), 97–111.
วรรณดี มหรรณพกุล, ขนิษฐา อินทร์ประสิทธิ์, ปิติ กาลธิยานันท์ และ ปัญจ์ยศ มงคลชาติ. (2555). การผลิตเครื่องดื่มไซเดอร์กล้วย. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์ กรมวิทยาศาสตร์บริการ, 1(1), 142-156.
วัชรินทร์ นาคสุวรรณ์ จิตติมา ดํารงวัฒนะ, อุดมศักดิ์ เดโชชัย, เดโช แขน้ำแก้ว และ จรวยพร เหมรังสี. (2563). แนวทางส่งเสริมการแปรรูปกล้วยเล็บมือนางอบน้ำผึ้ง กรณีศึกษากลุ่มแม่บ้านเกษตรกรสวนจันทร์ศรี หมู่ 2 ตําบลบ้านเกาะ อําเภอพรหมคีรีจังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารสังคมศาสตร์และวัฒนธรรม, 4(1), 11-22.
ศศิวิมล แสวงผล จามร สมณะ และ สมรรถชัย ฉัตราคม. (2552). 108 พันธุ์กล้วยไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ.
เสริม จันทร์ฉาย และ บุศรากรณ์ มหาโยธี. (2559). การพัฒนาการผลิตกล้วยตากในชุมชนกล้วยตากอำเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 3(6), 210-322
อดิศรา ตันตสุทธิกุล. (2564). สภาวะการผลิตวุ้นสวรรค์จากไซรัปกล้วยน้ำว้า โดย Acetobecter sp. TISTR 1014. วารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช, 40(2), 97-105.
Mouritsen, H. (2011). The freedman in the Roman world. Cambridge: Cambridge University Press.