รูปแบบการจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับเจเนอเรชั่นอัลฟ่า

Main Article Content

กมลชนก นาคสุทธิ์
กฤติญากาญจน์ คงนุ่น
กฤษณพงศ์ ทองคำ
กันต์ธีทัต ศรีใจวงศ์
ชนสรณ์ มาสุข
สถิรพร เชาวน์ชัย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอสาระเกี่ยวกับเจเนอเรชั่นอัลฟ่าหรือเด็กที่เกิดระหว่างปี พ.ศ.2553-2568 หรือ ค.ศ.2010-2025 ปัญหาด้านพฤติกรรมของเจเนอเรชั่นอัลฟ่าพบว่า ขาดการสื่อสารและความยืดหยุ่น ขาดคุณธรรม ขาดความอดทน ขาดสมาธิ และขาดความมุ่งมั่นในการทำงาน นอกจากนี้ยังอาจทำให้เกิดความเบื่องานง่าย ขาดทักษะในการแก้ไขปัญหา และส่งผลให้การทำงานร่วมกับผู้อื่นมีปัญหา ขาดความรับผิดชอบ และรูปแบบการศึกษาที่เหมาะสมกับเจเนอเรชั่นอัลฟ่า คือ 1) การจัดการศึกษาฐานสมรรถนะ (Competency-based Education: CBE) ใช้ความรู้และทักษะเพื่อพัฒนาความสามรถในการทำงานและการแก้ปัญหา 2) การศึกษาที่เน้นผลลัพธ์ (Outcome-based Education: OBE) ออกแบบการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและสามารถนำไปใช้ในอาชีพ โดยการเน้นผลลัพธ์เป็นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความสนใจ ความถนัด และก้าวไปตามความสามารถของตน โดยผู้บริหารและครูมีบทบาทคือ ตระหนักรู้ มีวิสัยทัศน์กว้างไกล และเลือกรูปแบบการจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับเจเนอเรชั่นอัลฟ่าตามบริบทของสถานศึกษา และผู้เรียนเพื่อเตรียมคุณภาพของสังคมไทยในอนาคตให้เป็นที่ยอมรับ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ขนิษฐา ตั้งวรสิทธิชัย. (2563). สมศ.แนะ 4 ทักษะครูยุคใหม่ เก่งเทคโนโลยี-สร้างทักษะชีวิต. สืบค้น 23 มกราคม 2567. จาก https://www.prachachat.net/education/news-413725.

ชนันภรณ์ อารีกุล. (2562). การศึกษาทางเลือก: รูปแบบการเรียนรู้ที่สําคัญสําหรับเจเนอเรชั่นแอลฟา. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 8(3), 270-283.

ชัษษพณขิ์ จันวงค์เดือน และ วริญรดา บรรหาร. (2565). หลักสูตรแกนกลางและหลักสูตรฐานสมรรถนะ. วารสารครุทรรศน์, 2(2), 89-102.

ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. (2558). การศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education) โดยผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Student-Centered) และใช้โครงงานเป็นฐานในการเรียนรู้ (Project-based Learning). สืบค้น 23 มกราคม 2567. จาก https://vet.ku.ac.th/vv2018/form/edu/OBE06.pdf.

พัชราภา ตันติชูเวช. (2560). เจเนอเรชั่นแอลฟา: เจเนอเรชั่นใหม่ในสังคมไทยศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริจรรยา เครือวิริยะพันธ์ และ โอปอล์ สุวรรณเมฆ. (2563).รูปแบบการดำเนินชีวิตของผู้บริโกค กลุ่มเจเนอเรชั่น แซท. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฆ, 11(1), 23-43.

ศุภชัย ชื่นจิตรวงษา. (2557). หลักการเบื้องต้นของ Outcome-based Education และPillars of Education. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้น 23 มกราคม 2567. จาก https://www.thaihealth.or.th/ผลข้างเคียงยุคดิจิทัล.

สมชาย เทพแสง, กันต์ฐมณีญา นฤโฆษ, กิตติกีรติ และ อัจฉริยา เทพแสง. (2566). การศึกษาที่เน้นผลลัพธ์ Outcome-based Education(OBE):กุญแจสําคัญในการจัดการ เรียนรู้ที่มุ่งเน้นนักเรียนเป็นหลัก. วารสารสหวิทยาการวิจัยและนวัตกรรมการศึกษา, 2(1), 39-52.

สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน). (2564). รู้จัก Generation Alpha : รุ่นใหม่วัยเยาว์ผู้กำหนดอนาคต. สืบค้น 23 มกราคม 2567. จาก https://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/opportunities-2021/4185/.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2563). การจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เชิงรุก (5). กรุงเทพฯ: บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จำกัด.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2564). แนวทางการพัฒนาสมรรถนะหลักของผู้เรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในช่วงเปลี่ยนผ่านสู่หลักสูตรฐานสมรรถนะ (8-9). กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สุทธิ สุนทรานุรักษ์. (2566). เจเนอเรชั่นอัลฟา (Generation Alpha) โลกข้างหน้าของลูกหลานพวกเรา. สืบค้น 23 มกราคม 2567. จาก https://thaipublica.org/2023/01/sutti-26_generation-alpha/.

สุริยเดว ทรีปาตี. (2552). ต้นทุนชีวิตเด็กและเยาวชนไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).

สุริยเดว ทรีปาตี. (2562). คุณลักษณะและจิตสำนึกของเด็กยุคดิจิทัลกับการปรับกระบวนทัศน์ใหม่. วารสารการจัดการทางการศึกษาปฐมวัย, 1(1), 90–100.

อาทิตยา ไสยพร. (2567). ผู้บริหารโรงเรียนยุคใหม่ บริหารอย่างไรให้เข้าถึงใจครู และนักเรียน. สืบค้น 23 มกราคม 2567. จาก https://www.educathai.com/knowledge/articles/693.

AMARIN BABY & KIDS. (2563). รู้ให้ลึก ลูกเจนอัลฟ่า (Gen Alpha) ทำไมมีปัญหาพฤติกรรม?. สืบค้น 23 มกราคม 2567. จาก https://www.amarinbabyandkids.com/parenting/gen-alpha-kids/.

HREX.asia. (2562). เรียนรู้เจนเนอร์เรชั่นอัลฟา (Gen Alpha) เพื่อเตรียมรับมือกับตลาดแรงงานในอนาคต. สืบค้น 23 มกราคม 2567. จาก https://th.hrnote.asia/tips/190805-generation-alpha/.

Matthew. (2013). Beyond Z: Meet Generation Alpha. McCrindle. Retrieved 23 January 2024. from https://mccrindle.com.au/search/Beyond+Z%3A+Meet+Generation+Alpha/.

Schawbel, D. (2014). 5 Predictions for Generation Alpha. Danschawbe. Retrieved 23 January 2024. from https://danschawbel.com/5-predictions-for-generation-alpha/.

Starfish Academy. (2563). Gen Alpha เด็กยุคใหม่ที่ฉลาดที่สุดในเผ่าพันธ์ุมนุษย์. สืบค้น 23 มกราคม 2567. จาก https://www.starfishlabz.com/blog/140-gen-alpha-เด็กยุคใหม่ที่ฉลาดที่สุดในเผ่าพันธุ์มนุษย์.

Starfish Academy. (2565). 10 ข้อควรรู้ จิตวิทยาในการเลี้ยงลูกของพ่อแม่ยุคใหม่. สืบค้น 18 สิงหาคม 2567. จาก https://www.starfishlabz.com/blog/569-10-ข้อควรรู้-จิตวิทยาในการเลี้ยงลูกของพ่อแม่ยุคใหม่.

Starfish Academy. (2566). รับมือเด็ก gen ใหม่ปรับรูปแบบการบริหารสถานศึกษา. สืบค้น 23 มกราคม 2567. จาก https://www.starfishlabz./blog/1217-รับมือเด็ก-gen-ใหม่ปรับรูปแบบการบริหารสถานศึกษา.