การใช้ระบบนิเวศการเรียนรู้ความจริงเสริม เพื่อพัฒนาทักษะการสังเกตเชิงวิทยาศาสตร์ของผู้เรียน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการใช้ระบบนิเวศการเรียนรู้ความจริงเสริม (Augmented Reality-AR) เพื่อพัฒนาทักษะการสังเกตเชิงวิทยาศาสตร์ของผู้เรียน ด้วยการสังเกตเป็นทักษะพื้นฐานที่สำคัญสำหรับการเรียนรู้และการดำรงชีวิต ช่วยให้ผู้เรียนสามารถรับรู้ข้อมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งรอบตัวได้อย่างแม่นยำ เทคโนโลยีความจริงเสริมสามารถสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ที่สมจริง ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมกับเนื้อหา สามารถเรียนรู้ได้ในเชิงลึกเมื่อรวมกับทักษะการสังเกตที่ดีจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ สามารถวิเคราะห์ปัญหาและสามารถตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
จีรนันท์ เพชรแก้ว. (2565). รู้จักทักษะการสังเกต. นิตยสารสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี, 51(239), 25-27.
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2564). การจัดการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง. นนทบุรี: บริษัท เอ็มดี ออล กราฟิก จำกัด.
ชัยอนันต์ สาขะจันทร์. (2565). การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบร่วมมือโดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความจริงเสริม เพื่อส่งเสริมทักษะปฏิบัติและความคงทนทางการเรียนสำหรับนักศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต. วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 13(3), 189-196.
ณัฐนันท์ ภัทรวินเดโชพัฒน์ (2566). การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมในห้องเรียนสำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา. วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ, 19(1), 87-93.
นิลบล แสนสิงห์. (2563). การพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการสังเกตและการจำแนกประเภททางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. (ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช).
ปวรุตม์ พงศ์พฤฒานนท์. (2563). AR และ VR คืออะไร และมีประโยชน์อย่างไร. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2566. จาก https://km.cc.swu.ac.th/archives/1930.
รักษพล ธนานุวงศ์. (2566). สื่อเสริมการเรียนรู้ โลกเสมือนผสมโลกจริง (Augmented Reality) ชุดการจมและการลอย. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2566. จาก https://www.scimath.org/article-science/item/12828-augmented-reality.
วรรณวิศา วัฒนสินธุ์. (2563). รูปแบบการเรียนรู้โครงงานเชิงวิศวกรรมโดยใช้ห้องปฏิบัติการเสมือนผสมความจริงเสริมเพื่อพัฒนาทักษะวิศวกรรมและนวัตกรรม. (ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ).
สรรเพชร คงถาวร, ฆนิศา รุ่งแจ้ง และพงษ์ศักดิ์ สุริยวนากุล. (2566). แบบจำลองความจริงเสริม (AR) สำหรับงานก่อสร้างระบบไฟฟ้าใต้ดินและการประเมินผลการเลือกใช้แบบจำลองด้วย FUZZY AHP. ใน การประชุมวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28 ปี พ.ศ. 2566: ความท้าทายด้านวิศวกรรมโยธาหลังการระบาดใหญ่ (น. INF06-1 - INF06-13). ภูเก็ต: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
Cotactic. (2565). AR (AUGMENTED REALITY) คืออะไร? มีประโยชน์อย่างไรต่อธุรกิจ. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2566. จาก https://www.cotactic.com/blog/what-is-ar-augmented-reality/.
Efinancethai. (2565). เทคโนโลยี Metaverse กับทิศทางโลกแห่งอนาคต. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2566. จาก https://www.efinancethai.com/Fintech/FintechMain.aspx?release=y&name=ft_ 202204111141.
Infographicthailand. (2564). AR Training คืออะไร? มีกี่ประเภท? องค์กรยุคใหม่ต้องรู้. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2566. จาก https://infographicthailand.com/ar-training-คืออะไร-มีกี่ประเภท-อง/.
NGThai. (2565). กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2566. จาก https://ngthai.com/science/21673/scienctificprocessing/.
Pastraporn Kalasing. (2565). การสร้างนวัตกรรมทางการศึกษาด้วยเทคโนโลยี Augmented Reality. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2566. จาก https://library.wu.ac.th/km/การสร้างนวัตกรรมทางการ/.
Quickerpthailand. (2566). AR คืออะไร ประโยชน์ การนำไปใช้สำหรับธุรกิจและอุตสาหกรรมต่างๆ. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2566. จาก https://quickerpthailand.com/blog-2023-what-is-ar/.