ปัญญาประดิษฐ์กับการพัฒนาทางการศึกษา

Main Article Content

แคทรียา แสงใส

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอปัญญาประดิษฐ์กับการพัฒนาทางการศึกษา ผลการศึกษาพบว่า ปัญญาประดิษฐ์ได้เข้ามามีบทบาทในการอำนวยความสะดวกและส่งเสริมด้านการศึกษาในการสร้างรูปแบบการเรียนรู้ด้วยฟังก์ชันการทำงานที่หลากหลาย ตอบโจทย์ความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งนับว่าเป็นประโยชน์ทั้งต่อผู้เรียนและผู้สอนให้สามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้ง่ายมากยิ่งขึ้น ยังสามารถปรับให้เข้ากับความต้องการของนักเรียนแต่ละคนได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังสามารถใช้เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของครูและยังสามารถใช้เพื่อพัฒนาวิธีการสอนใหม่ๆ ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กฤติยา รัตแพทย์. (2561). AI: Artificial Intelligence หรือปัญญาประดิษฐ์. สืบค้น 1 เมษายน 2566. จาก http://www.dstd.mi.th/board/index.php?topic=3400.0.

ฉัตรพงศ์ ชูแสงนิล. (2562). ปัญญาประดิษฐ์เพื่อการเรียนรู้. บทความวิชาการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). สืบค้น 1 เมษายน 2566. จาก https://www.scimath.org/article-technology/item/10115-2019-04-19-03-47-12.

ฉัตรพงศ์ ชูแสงนิล. (2562). ปัญญาประดิษฐ์เพื่อการเรียนรู้. สืบค้น 1 เมษายน 2566. จาก https://www.ปัญญาประดิษฐ์เพื่อการเรียนรู้scimath.org/article-technology/item/10110-ai-10110.

ชูพันธุ์ รัตนโภคา. (2559). เอกสารคำสอน วิชา ความรู้เบื้องต้นทางปัญญาประดิษฐ์ (Introduction to Artificial Intelligence). กรุงเทพฯ: ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

ธวัชชัย พงษ์สนาม. (2566). เทคโนโลยี AI กับจุดเปลี่ยนทางการศึกษาไทย. สืบค้น 1 เมษายน 2566. จาก https://citly.me/vmzTd.

มหาวิทยาลัยมหิล. (2566). ปัญญาประดิษฐ์ (AI) พลิกโฉมการศึกษา (ตอนที่ 1). สืบค้น 1 เมษายน 2566. จาก https://il.mahidol.ac.th/th/newsletter52-article4/.

วริศรา กิจมหาตระกูล. (2561). แนวทางกำหนดมาตรการเพื่อควบคุมการใช้ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ในการสอบบัญชี. (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

ศรัณย์ศิริ คัมภิรานนท์. (2562). AI เทคโนโลยีอนาคตของประเทศไทย (Artificial Intiligence in Thailand). สืบค้น 1 เมษายน 2566. จาก https://www.scimath.org/article-technology/item/10110-ai-10110.

สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน). (2562). AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ สำหรับบริหารงานและการบริหารภาครัฐ. กรุงเทพฯ: บริษัท ส.พิจิตรการพิมพ์ จำกัด.

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2562). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ร่วมสมัย ชุดความฉลาดรู้ (literacy) ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา.

Aksorn. (2566). สรุปให้รู้ ตามทันโลกการศึกษา EP.16 ปรับรูปแบบการศึกษาอย่างไร? หากยุค Artificial Intelligence (AI) ครองเมือง. สืบค้น 1 เมษายน 2566. จาก https://www.aksorn.com/ac1-artificial-intelligence.

Forbes. (2018). The AI Skills Crisis And How toClose The Gap. Retrieved 1 April 2023. from https://www.forbes.com/sites/bernardMarchr/2018/06/25/the-ai-skills-crisis-and-how-to-close-the-gap/#46fe39d231f3.

Haenlein, M., & Kaplan, A. (2019). A brief history of artificial intelligence: On the past, present, and future of artificial intelligence. California management review, 61(4), 5-14.

Mckinsey Global Institute. (2017). The next digital frontier. New York: McKinsey & Company.

Russell SJ, Norvig P. (2016). Artificial intelligence: a modern approach. London: Pearson Education Limited.

Swiftlet. (2564). AI กับกลไกลพัฒนาการศึกษาไทย. สืบค้น 1 เมษายน 2566. จาก https://citly.me/KSDvM.

Wilson, H. J., & Daugherty, P. R. (2018). Collaborative intelligence: Humans and AI are joining forces. Harvard Business Review, 96(4), 114-123.