การเรียนรู้ภาษาไทยในศตวรรษที่ 21 โดยใช้สมองเป็นฐาน

Main Article Content

ณัฐธยาน์ แวงอุบล

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาไทยในศตวรรษที่ 21 โดยใช้สมองเป็นฐาน ศตวรรษที่ 21 เป็นช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในด้านข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่อสารประชากรในศตวรรษใหม่เน้นการจัดการเรียนการสอนให้เข้ากับสังคมปัจจุบันมากที่สุดและช่วยส่งเสริมการจัดการเรียนรู้และการดำรงชีวิตของตนเองให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง การจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยจะต้องกำหนดวัตถุประสงค์และกระบวนการ เนื้อหา ซึ่งนำมาสู่การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้สมองเป็นฐาน ครูผู้สอนจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับเนื้อหาและความสามารถของผู้เรียนก็จะทำให้ผู้เรียนได้รับการปลูกฝังที่มีคุณค่าช่วยให้มีทักษะที่ดีในการใช้ภาษา สร้างเสริมเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาไทย รวมไปถึงการคิดเห็นคุณค่าของภาษาไทยที่จะใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อความคิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กมลฉัตร กล่อมอิ่ม. (2560). การจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูสาขาพลศึกษา. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 10(1), 77-89.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.

กาญจนา สุนันตา. (2555). การใช้กิจกรรมดาราทีบีเอ็มเพื่อพัฒนาทักษะภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนดาราวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่. (ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

ธัญญรัตน์ อุยโต. (2561). การพัฒนาทักษะการเขียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้สมองเป็นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. (การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).

พรพิไล เลิศวิชา และ อัครภูมิ จารุภากร. (2550). สมองวัยเริ่มเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สถาบันวิทยาการเรียนรู้.

พรพิไล เลิศวิชา. (2550). สมองเรียนรู้อย่างไร. กรุงเทพฯ: ศาลาแดง.

รัตถภรณ์ คำกมล และ บุษบา บัวสมบูรณ์. (2559). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ด้านการแต่งคำประพันธ์ประเภทกาพย์ยานี ของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวสมองเป็นฐาน. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 10(2), 1060-1077.

ลิขสิทธิ์ พุฒเขียว. (2554). การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทางไกล เพื่อส่งเสริมการสืบสอบหาความรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาทางไกล สถาบันการศึกษาทางไกล. (ครุศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-. สฤษดิ์วงศ์.

วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2551). นวัตกรรมตามแนวคิดแบบ Back ward Desing. มหาสารคาม: ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ศูนย์เรียนรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต. (2566). การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (Brain Based Learning) ตอนที่ 1. สืบค้น 5 มกราคม 2566. จาก https://lc.rsu.ac.th/weblog/11.

สถาบันคลังมองของชาติ. (2551). สมองกับการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: เบสท์ กราฟฟิค เพรส.

สนิท สัตโยภาส. (2547). กระบวนการเรียนรู้ชูผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ: คุรุสภา ลาดพร้าว.

สุจริต เพียรชอบ และ สายใจ อินทรัมพรรย์. (2538). วิธีสอนภาษาไทยระดัยมัธยมศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Ananiadou, K., & Claro, M. (2009). 21st century skills and competences for new millennium learners in OECD countries. OECD education working papers, no. 41. United States: OECD Publishing (NJ1).

Call, N. (2003). The thinking child brain-based learning for the foundation stage. PO Box 635 Stafford: Network Educational Press Ltd.

CEDEFOP (Thessaloniki). (2008). The shift to learning outcomes: Conceptual, political and practical developments in Europe. Luxembourg: Office for official publications of the European Communities.

Dede, C. (2007). Transforming education for the 21st century: New pedagogies that help all students attain sophisticated learning outcomes. Commissioned by the NCSU Friday Institute. Retrieved 2 January 2023. from https://citeseerx.ist.psu.edu/document?repid=rep1&type=pdf&doi=bb7f5f9ebda4ebe662364f534e1bce027f655623.

Dede, C. (2010). Comparing frameworks for 21st century skills. In J. Bellance, & R. Brandt (Eds.), 21st century skills: Rethinking how students learn (pp. 51-76). Bloomington: Solution Tree Press.

Jensen, E. (2000). Moving with the brain in mind. Educational leadership, 58(3), 34-37.

Partnership for 21st Century Skills. (2009). P21 Framework Definitions. Retrieved 2 January 2023. from https://files.eric.ed.gov/fulltext/ED519462.pdf.

Politano, C., & Paquin, J. (2000). Brain-based learning with class. Winnipeg, Manitoba: Portage & Main Press.