การคิดขั้นสูง : ทักษะจำเป็นในศตวรรษที่ 21

Main Article Content

แคทรียา แสงใส

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอเกี่ยวกับการคิดขั้นสูง ซึ่งเป็นทักษะจำเป็นในศตวรรษที่ 21 การคิดขั้นสูงเป็นการคิดที่มีองค์ประกอบซับซ้อน ทั้งวิธีการและขั้นตอนในการใช้ทักษะหลายประการร่วมกัน เช่น บูรณาการการคิดวิเคราะห์เข้ากับการคิด สังเคราะห์ และการให้เหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัย ประกอบไปด้วย (1) การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (2) การคิดเชิงระบบ (3) การคิดสร้างสรรค์ และ (4) การคิดแก้ปัญหา การคิดแต่ละประเภทมีจุดเด่นและลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกัน แต่ในสถานการณ์หนึ่งการใช้ความคิดเพียงประเภทเดียวอาจไม่สามารถค้นหาคำตอบหรือวิธีการแก้สถานการณ์ปัญหานั้นได้ ดังนั้น การพัฒนาการคิดขั้นสูง ควรพัฒนาการคิดทุกประเภทผสมผสานบูรณาการควบคู่กันไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กมลพร ทองธิยะ และ กิตติชัย สุธาสิโนบล. (2564). การพัฒนาการคิดขั้นสูง : ความสามารถทางสติปัญญาที่สำคัญในโลกยุค New Normal. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 19(2), 28-44.

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2553). การจัดการเรียนรู้แนวใหม่. นนทบุรี: สหมิตรพริ้นติ้ง แอนด์พับลิสซิ่ง.

ทิพย์วัลย์ สุทิน. (2556). แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการคิด. PBL WU Newsletter, 6(1), 1-19.

ทิศนา แขมมณี. (2544). วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพฯ: เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเม้นท์.

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2558). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ร่วมสมัย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา.

ศักดิ์สิทธิ์ สีหลวงเพชร, พิศมัย ศรีอำไพ และ นิภาพร ชุติมันต์. (2559). การพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะ การคิดขั้นสูงสำ หรับครูวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 10(4), 177-191.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2545). คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

สริญญา มารศรี. (2562). การพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ในศตวรรษที่ 21. วารสาร มจร นครน่านปริทรรศน์, 3(2), 105-122.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2564). สมรรถนะการคิดขั้นสูง. สืบค้น 25 ตุลาคม 2565. จาก https://cbethailand.com/หลักสูตร-2/กรอบหลักสูตร/สมรรถนะหลัก-6-ประการ/สมรรถนะการคิดขั้นสูง/.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

สุภาพร แก้วถาวร. (2564). การพัฒนาการคิด. สืบค้น 25 ตุลาคม 2565. จาก https://secretary-science.mju.ac.th/goverment/25570522101243_science_secretary/Doc_25640507090808_237621.pdf.

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2552). สารานุกรมวิชาชีพครู เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษ 80 พรรษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.

สุรกิจ ปรางสร. (2556). กิจกรรมการเรียนด้วยเว็บเควสท์กับทักษะการคิดขั้นสูง. วารสารนักบริหาร, 3(3) ,82-93.

อรพรรณ พรสีมา. (2543). การคิด. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาทักษะการคิด.

อุษณีย์ โพธิสุข. (2545). สร้างเด็กให้เป็นอัจฉริยะ ฝึกเด็กให้เป็นนักคิด. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤทดิ์วงศ์.

Bloom, B.S. (1959). Toxonomy of educational objectives handbook 1: Cognitive. New York: David Mckay.

Gage, N.L. & Berliner, D.C. (1984). Educational psychology. Chicago: Rand Mc.

Ruggiero, Vincent R. (1988). Teaching Thinking Across The Curriculum. New York: Haper & Row.