ความสัมพันธ์ของบรรยากาศสถานศึกษากับการบริหารของบุคลากรทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
คำสำคัญ:
บรรยากาศสถานศึกษา, การบริหารสถานศึกษา, การบริหารบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับบรรยากาศสถานศึกษา 2) ศึกษาระดับการบริหาร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ของบรรยากาศสถานศึกษากับการบริหารของบุคลากรทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับบรรยากาศสถานศึกษาของบุคลากรทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 2) ศึกษาระดับการบริหารสถานศึกษา ของบุคลากรทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 3) ศึกษาความสัมพันธ์ของ บรรยากาศสถานศึกษากับการบริหารของบุคลากรทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ บุคลากรทางการศึกษา จำนวน 385 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม การสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า 1) บรรยากาศสภานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอันดับที่ 1 คือ ด้านรางวัลตอบแทนและการลงโทษ รองลงมาคือด้านโครงสร้างองค์กร ด้านการยินยอมให้มีการขัดแย้งในองค์ ด้านความเป็นอิสระ และอันดับสุดท้าย คือด้านความอบอุ่นและการสนับสนุน ตามลำดับ 2) การบริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อันดับที่ 1 คือ ด้านการบริหารวิชาการ รองลงมาคือ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารทั่วไป และอันดับสุดท้าย คือ ด้านการบริหารงบประมาณ 3)ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศสถานศึกษากับการบริหารของบุคลากรทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา โดยภาพรวม มีค่าความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในเกณฑ์ระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
References
กิรติภาพัชร์ กษิดิศ. (2560). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับองค์ประกอบของบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
คทาวุธ ม่วงแก้ว. (2558). บรรยากาศองค์การในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
ชายแดน เดชาฤทธิ์. (2564). ความสัมพันธ์ของการบริหารงานกับกิจการนักเรียนของครูโรงเรียนสามโคก สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา: วิทยาลัยทองสุข.
ณัฏฐิกา บูรณกูล. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์และค่านิยมในการทำงานกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของครูโรงเรียนเอกชนในอำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ดวงแข มานะปรีชางามเลิศ. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาการบริหารการศึกษา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
ในตะวัน กำหอม. (2559). การวิจัยทางการศึกษา.เล่ม 1. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยทองสุข. โรงพิมพ์ทีคอม
ภารดี อนันต์นาวี. (2551). หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. ชลบุรี: สำนักพิมพ์มนตรี จำกัด.
มนตรี ศรีจันทร์อินทร์. (2559). บรรยากาศองค์การของโรงเรียนขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 จันทบุรี-ตราด. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา.
ยุภา อรุณสวัสดิ์. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การกับคุณภาพชีวิตในการทำงานของครูในโรงเรียนสหวิทยาเขตเมืองชลบุรี 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. สาขาการบริหารการศึกษา: มหาวิทยาลัยบูรพา.
สยุมภู เหมือนนิรุทธ์. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็กกับการบริหารเชิงกลยุทธ์ในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอ่างทอง. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
อาริญา แก้วเกิน. (2565). บรรยากาศองค์กรกับการบริหารสถานศึกษาของบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนวัดไผ่หูช้าง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา: วิทยาลัยทองสุข.
Best, J. W. (1977). Research in education (3rd ed.). Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.
Litwin, G. H., & Stringer, R. A., Jr. (1968). Motivation and organisational climate. Division of Research, Harvard Business School.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 วารสารสถาบันพอดี

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.