การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง Fun Sounds ด้วยการสอนแบบโฟนิกส์ ร่วมกับกิจกรรมกลุ่มเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษและการทำงานเป็นทีม สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
คำสำคัญ:
การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้, โฟนิกส์, การอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ, กิจกรรมกลุ่ม, การทำงานเป็นทีมบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง Fun Sounds ด้วยการสอนแบบโฟนิกส์ร่วมกับกิจกรรมกลุ่มเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษและการทำงานเป็นทีมของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 30 คน ของโรงเรียนแห่งหนึ่งในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567 โดยใช้การสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sammpling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) หน่วยการเรียนรู้และแบบประเมินคุณภาพของหน่วยการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ และ 3) แบบประเมินการทำงานเป็นทีม วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติที แบบ One-Sample t-test
ผลการวิจัย ดังนี้
1.การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ พบว่า
1.1 มีขั้นตอนในการพัฒนา 7 ขั้นตามแนวทางของ Taba (1962) คือ 1) ศึกษาที่มาและความสำคัญของการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ 2) กำหนดวัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ 3) คัดเลือกเนื้อหาเพื่อพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ 4) จัดระบบเนื้อหาการเรียนรู้ 5) ออกแบบแนวทางการจัดการเรียนรู้ตามขั้นตอนการสอนแบบโฟนิกส์ร่วมกับกิจกรรมกลุ่ม 6) เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ และ 7) กำหนดแนวทางการประเมินผลการเรียนรู้
1.2 มีองค์ประกอบ คือ 1) ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 2) มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 3) สาระสำคัญ 4) สาระการเรียนรู้ 5) จุดประสงค์การเรียนรู้ 6) สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 7) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8) ชิ้นงาน/ภาระงาน 9) สื่อและแหล่งเรียนรู้ 10) การวัดและประเมินผล 11) กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการสอนแบบโฟนิกส์ร่วมกับกิจกรรมกลุ่ม 12) เวลาเรียน/จำนวนชั่วโมงเรียน และ 13) บันทึกหลังการเรียนการสอน
1.3 ผลการประเมินคุณภาพของหน่วยการเรียนรู้โดยผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนภาษาอังกฤษ พบว่า มีคุณภาพดีมาก (= 4.77, S.D. = 0.26)
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
จันทราพร ธรรมวรรณ, ศรีจิตรา นวรัตนาภรณ์ และประกอบ ผลงาม. (2563). การวิเคราะห์ระดับความสามารถและระดับปัญหาการใช้ภาษาอังกฤษในชั้นเรียนของครูผู้สอนที่มีวุฒิไม่ตรงสาขา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 จังหวัดเลย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 2(2), 57–70.
ฉวีวรรณ วัฒนานุกิจ. (2565). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการสอนแบบโฟนิกส์ เพื่อส่งเสริมการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สระเสียงสั้น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
ณรงค์ กาญจนะ. (2553). เทคนิคและทักษะการสอนเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 2). สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
ดวงใจ วงศ์ตา. (2565). การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้แบบสหวิทยาการเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้เทคนิคการตอบสนองด้วยท่าทาง. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ตวงรัตน์ แซ่จง. (2564). การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงสะกดคำภาษาอังกฤษ โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงโฟนิกส์ (Phonics) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนทรงวิทยาเทพารักษ์. วารสารพัฒนศิลป์วิชาการ, 5(2), 116–126.
ทิศนา แขมมณี. (2562). 10 สมรรถนะหลักปั้นเด็กไทยฉลาดรู้ : อยู่ดีมีสุข มีความสามารถสูงและใส่ใจสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.
นาตยา ปิลันธนานนท์. (2545). จากมาตรฐานสู่ชั้นเรียน. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
บุษวรรษ์ แสนปลื้ม. (2559). การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์. อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
ประสพชัย พสุนนท์. (2558). การประเมินความเชื่อมั่นระหว่างผู้ประเมินโดยใช้สถิติแคปปา. วารสารวิชาการศิลปะศาสตร์ประยุกต์, 8(1), 2–20.
ปรีชญา เพียรกสิกิจ. (2562). การพัฒนาความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษและความสามารถในการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
ภวิกา ภักษา. (2563). จิตวิทยาสำหรับครู (พิมพ์ครั้งที่ 3). สุราษฎร์ธานี: จุฑาภรณ์ซีรอกซ์.
ยศวีร์ สายฟ้า. (2557). รอยเชื่อมต่อการเรียนรู้ระหว่างชั้นเรียนอนุบาลและประถมศึกษา ก้าวย่างที่สำคัญของเด็กประถมศึกษา. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 42(3), 143–159.
เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. (2556). การสร้างทีมงาน. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.
วรพจน์ บุษราคัมวดี. (2556). การพัฒนาองค์การ. ปทุมธานี: ศูนย์เรียนรู้การผลิตและจัดการธุรกิจสิ่งพิมพ์ดิจิตอล.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2558). จากหลักสูตรแกนกลางสู่หลักสูตรสถานศึกษา: กระบวนทัศน์ใหม่การพัฒนา. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์.
ศุภวุฒิ แก้วไธสง. (2565). การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ Speak English with Confidence เพื่อส่งเสริมความสามารถ ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2564). สมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีม. เข้าถึงได้จาก https://cbethailand.com/หลักสูตร/หลักสูตรฐานสมรรถนะ/# 3 กุมภาพันธ์ 2567.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2553). แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2557). แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2563). คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียนตามนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
Bhuttah, T. M., Xiaoduan, C., Ullah, H., & Javed, S. (2019). Analysis of curriculum development stages from the
perspective of Tyler, Taba and Wheeler. European Journal of Social Sciences, 58(1), 14–22.
Chang, Y. N., Taylor, J. S. H., Rastle, K., & Monaghan, P. (2020). The relationships between oral language and reading instruction: Evidence from a computational model of reading. Cognitive Psychology, 123(101336), 1–20.
Chen, M. J., Yin, G. J., Goh, H. S., Soo, R. S., Harun, R. N. S. R., Singh, C. K. S., & Wong, W. L. (2024). Theoretical review of phonics instruction among EFL beginner-level readers in China. International Journal of Academic Research in Progressive Education and Development, 11(2), 449–466.
Department for Education and Skills. (2007). Letters and sounds: Principles and practice of high quality phonics. London: Department for Education and Skills.
Florida Center for Reading Research. (2023). Teacher resource guide. Retrieved from https://fcrr.org/student-center-activities/teacher-resource-guide September 16th, 2023.
Kralova, Z., & Soradova, D. (2021). International conference on innovations in science and (social sciences). Prague: CBU Research Institute.
Lloyd, S. (1992). The Phonics Handbook (3rd ed.). Essex: Jolly Learning.
Mahmoud, A. (2016). Learner-centered group Work in multi-level EFL classes. Arab World English Journal, 7(2), 3–10.
Maisaroh, S., Endahati, N., & Budiharti, B. (2022). The 4th International Conference on Education and Social Science Research (ICESRE). Ankara: KnE Social Sciences.
Paige, D. D., Smith, G. S., & Rupley, W. H. (2023). A study of phonemic awareness, letter sound knowledge, and word reading in struggling adolescent students. Literacy Research and Instruction, 62(3), 260–279.
Reading is Fundamental Organization. (2023). Read aloud guide. Washington DC: RIF.
Sitthikul, P. (2022). Phonics instruction and assessment: Practical guidelines for English teachers. Narkbhutparitat Journal, 14(1), 14–21.
Statista Research Department. (2024). Chart: The most spoken languages: On the internet and in real life. Retrieved from https://www.statista.com/chart/26884/languages-on-the-internet May 20th, 2024.
Sulyman, H. T., Akorede, M. A., & Ogunsawo, T. (2021). Effect of letters and sounds as a phonics method on preschool children’s reading abilities in Iilorin metropolis of Kwara State. Journal of Early Childhood Association of Nigeria, 10(1), 1–15.
Taba, H. (1962). Curriculum development: theory and practice. New York: Harcourt, Brace & World.
Thoms, S. L., Bonviglio, T., & Suryasa, W. (2021). Linguists study language structure. Linguistics and Culture Review, 5(1), 1–4.
United Kingdom Government. (2023). The national curriculum. Retrieved from https://www.gov.uk/national-curriculum December 2nd, 2023.
Upadhyay, A. (2020). Group dynamics. Michigan: Department of Social Work.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.