พุทธธรรมแนวคิด หลักปฏิบัติในพระพุทธศาสนา: เพื่อพัฒนาให้เป็นกลไกในการพัฒนาสุขภาวะแบบองค์รวมในผู้สูงอายุ

Main Article Content

พระปลัดระพิน พุทธิสาโร

บทคัดย่อ

บทความนี้ศึกษาถึงหลักธรรมในพระพุทธศาสนา ที่จะใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุตามแนวพุทธ ใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร งานวิจัย และแนวคิดที่เกี่ยวข้อง เรียบเรียงออกมาเป็นบทความวิชาการ ผลที่ได้จากการศึกษา พบว่ามีหลักธรรมคำสอนจำนวนมากที่ส่งเสริมให้เกิดเป็นหลักคิด แนวปฏิบัติ สำหรับดูแลผู้สูงอายุ โดยจะส่งผลให้เกิดเป็นหลักคิดในการปฏิบัติตามแนวทางพระพุทธศาสนา และกรณีศึกษา ตัวอย่างเพื่อการปฏิบัติ รวมไปถึงหน่วยงานหรือองค์กรที่นำแนวคิดทางพระพุทธศาสนาไปประยุกต์ใช้ เป็นแนวทางในการปฏิบัติ ดังกรณีพระพุทธเจ้าโปรดพุทธบิดา พระสารีบุตรไปโปรดมารดาที่อยู่ในฐานะผู้สูงอายุ หรือการที่พระพุทธเจ้าและพระสารีบุตรจัดให้มีการสงเคราะห์บวชผู้สูงอายุอย่างพระราธะ รวมไปถึงหลักธรรมที่มีเป้าหมายเพื่อการจัดการส่งเสริมผู้สูงอายุอย่าง หลักสัปปายะ หลักอิทธิบาทธรรม หลักอุตุนิยาม หลักกตัญญูกตเวทิตา เป็นต้น ซึ่งทั้งหมดเป็นหลักที่มีเป้าหมายเพื่อการส่งเสริม จัดการ และพัฒนาผู้สูงอายุให้มีสุขภาะทั้งทางกาย จิตใจ ชีวิต ความคิด และปัญญาให้มีผลเป็นความสุข อยู่อย่างมีค่า ชราอย่างเป็นสุข ตามคติหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนาด้วยเช่นกัน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

โกศล จึงเสถียรทรัพย์. (2553). Healing Environment: การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา เอกสารการบรรยายเรื่อง Healing Environment และการเปลี่ยนแปลง. ใน SHA Conference & Contest ความงามและความหมายนิยามใหม่ของงานคุณภาพ จัดโดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน), ณ โรงแรมอิมพีเรียล ควีนส์ ปาร์ค กรุงเทพมหานคร, วันที่ 15-17 ธันวาคม 2553. (น. 45). กรุงเทพฯ: สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน).

ฐิติยา เนตรวงษ์ และ รัชฎาพร ธิราวรรณ. (2562). การใช้โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตามหลักวิถีพุทธที่ส่งผลต่อสุขภาพจิตที่ดีของผู้สูงอายุ. วารสารวิทยาลัยราชสุดา, 15(1), 50-62.

ฐิติวรรณ แสงสิงห์. (2556). การศึกษาวิถีชีวิตของผู้สูงอายุตามหลักพุทธธรรม : กรณีศึกษาชุมชนบ้านลือคำหาญ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. (พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).

ทิพย์ธัญญา สรณะ และ ประสพชัย พสุนนท์ (2560) หลักธรรมกับการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุ กรณีศึกษาแหล่งชุมชน ณ บริเวณวัดศรีเมือง จังหวัดจันทบุรี. ใน การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 9 “ราชมงคลสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ยั่งยืนสู่ประเทศไทย 4.0” (น. 1367-1375). นครปฐม: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

ทิพวรรณ สุธานนท์. (2556). การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมในการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขของผู้สูงอายุ. (พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).

ธีรโชติ เกิดแล้ว. (2547). “สัปปายะ 7 : หลักคิดการจัดระเบียบเพื่อความสมดุลของครอบครัว/สังคม. วารสาร มฉก.วิชาการ, 8(15), 80-92.

ประเวศ วะสี. (2550). วิถีชีวิตมนุษย์ในศตวรรษที่ 21 ศูนย์ หนึ่ง เก้า. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: แปลนปริ้นติ้ง จำกัด.

พระครูสังฆรักษ์วิสิทธิ์ ธมฺมวโร (วัฒนคู). (2559). การบริหารสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดเชิงพุทธบูรณาการ. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์, 3(2), 142-153.

พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2548). คำวัด. กรุงเทพฯ: เลี่ยงเชียง.

พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ). (2532). วิปัสสนากรรมฐาน ภาค 2. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊พ.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2538). จริยธรรมสำหรับคนรุ่นใหม่. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2539). ธรรมกับการพัฒนาชีวิต. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2549). สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ. (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สหธรรมิก จำกัด.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ: บริษัท เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์ จำกัด.

พระพุทธโฆสเถระ. (2548). คัมภีร์วิสุทธิมรรค, แปลและเรียบเรียงโดย สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร). (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: ธนาเพรส.

พระมงคลธรรมวิธาน และ ประสิทธิ์ สระทอง. (2560). ผู้สูงอายุกับการปฏิบัติตามหลักพุทธธรรม. Verdian E-Journal Silpakorn University, 10(3), 1849-1864.

พระวีระศักดิ์ ชยธมฺโม (สุวรรณวงศ์). (2557). แนวทางการจัดการวัดสันติสุขตามหลักสัปปายะ 7 : กรณีศึกษาวัดธารน้ำไหล (สวนโมกขพลาราม) ตำบลเลม็ด อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี. (พุทธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).

พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ. (2539). ปรมัตถโชติกะ ปริเฉทที่ 9 เล่ม 1 สมถกรรมฐานทีปนี. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ทิพยวิสุทธิ์.

รายงานสุขภาพคนไทย. (2566). “มิติด้านสุขภาพ” ของสังคมสูงวัยในประเทศไทย. สืบค้น 4 มกราคม 2566. จาก https://www.thaihealthreport.com/th/articles_detail.php?id=222.

วศิน อินทสระ. (2559). จิตที่ดี นำความสุขมาให้. สืบค้น 4 มกราคม 2566. จาก http://www.dharma-gateway.com/ubasok/wasin/wasin-040.htm.

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2543). วินัยมุข เล่ม 2 (หลักสูตรนักธรรมชั้นโท). (พิมพ์ครั้งที่ 31). กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2552). วินัยมุข เล่ม 1 (หลักสูตรนักธรรมชั้นตรี). (พิมพ์ครั้งที่ 40). กรุงเทพฯ: มหามกุฎราชวิทยาลัย.

สมบูรณ์ วัฒนะ. (2559). แนวคิดการดูแลผู้สูงอายุ ตามแนวพระพุทธศาสนาเถรวาท. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 24(44), 173-193.