การจัดทำบริการสาธารณะ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์นำเสนอการจัดทำบริการสาธารณะ เพื่อพัฒนาให้เกิดผลดีต่อการปฏิบัติหน้าที่บริการสาธารณะ และเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อหน่วยงานผู้ให้บริการสาธารณะและผู้รับบริการ คือ ประชาชน อันจะส่งผลให้เกิดประโยชน์สูงสุดประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ได้แก่ แนวคิดทางเลือก แนวการศึกษา หลักเกณฑ์สำคัญ องค์การที่ทำหน้าที่บริการ ค่านิยมของการให้บริการ การพัฒนาระบบการบริหาร และคุณภาพของการให้บริการสาธารณะ ทั้งนี้การจัดบริการสาธารณะเปิดโอกาสให้สังคมและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดบริการสาธารณะร่วมกับภาครัฐ ที่รัฐถ่ายโอนให้กิจการเพื่อสังคมดำเนินการพัฒนาการให้บริการสาธารณะ กิจกรรมหรือบริการภาครัฐจัดทำขึ้นเพื่อสนองความต้องการของประชาชนโดยส่วนรวม ทำให้ประชาชนที่อาศัยอยู่ในท้องถิ่นได้รับบริการที่ดีส่งผลให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เป็นการตอบสนองการจัดการภาครัฐแนวใหม่ที่มุ่งเน้นให้ได้ผลลัพธ์ของการบริการสาธารณะที่จะสร้างประโยชน์สุขแก่ประชาชนอย่างแท้จริง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2556). ศัพท์รัฐประศาสนศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์. (2559). การผสมผสานเทคโนโลยีกับการพัฒนาต้นแบบการจัดการเรียนการสอน e-learning สมัยใหม่ (รายงานการวิจัย). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. (2560). กฎหมายปกครอง. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
วรเดช จันทรศร. (2540). การนำนโยบายไปปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: กราฟิคฟอร์แมท (ไทยแลนด์).
สถาพร วิชัยรัมย์, ธัญญรัตน์ พุฑฒิพงษ์ชัยชาญ, ภัทรนันท์ เกิดในหล้า และ จุฑารัตน์ จัตุกูล. (2562). จริยธรรมในการให้บริการสาธารณะของไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์, 11(3), 117-134.
เอกบุญ วงศ์สวัสดิ์กุล. (2560). ภารกิจและการดำเนินภารกิจของฝ่ายปกครอง. ใน หนังสือประกอบการสอนชุดวิชากฎหมายปกครองชั้นสูง. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Bordás, M. (2009). Public services at local government level. Acta Juridica Hungarica, 50(4), 459-487.
Boston, J. (1996). Public management: the New Zealand model. UK: Oxford University Press UK.
Hood, Christopher C. (1991). A Public Management For All Seasons?. Public Administration, 69(1), 3-19.
Ostrom, V., & Ostrom, E. (1971). Public choice: A different approach to the study of public administration. Public Administration Review, 31(2), 203-216.