จีน : การส่งเสริมการเคลื่อนย้ายทุนสู่ระบบเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์นำเสนอเกี่ยวกับจีน : การส่งเสริมการเคลื่อนย้ายทุนสู่ระบบเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก ทุนการเคลื่อนย้ายทุนของจีนเป็นปัจจัยสำคัญในการส่งเสริมการเติบโตอย่างก้าวกระโดดของเศรษฐกิจจีน ปัจจุบันตลาดทุนของประเทศจีนมีบทบาทสำคัญอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก ซึ่งรัฐบาลจีนได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาภาคการเงิน โดยพยายามผ่อนคลายมาตรการในการลงทุนต่างๆ เพื่อสร้างแรงจูงใจต่อนักลงทุนต่างชาติ ซึ่งตลาดหลักทรัพย์ในประเทศจีนมี เพื่อประสานความร่วมมือในการขยายโอกาสการลงทุนในตลาดทุนไทยไปยังกลุ่มนักลงทุนจีน โดยอนุญาตให้บริษัทจีนเข้ามาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไทยได้ และผลักดันให้เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่หลากหลาย เพื่อดึงดูดเม็ดเงินลงทุนเข้ามาหมุนเวียนในตลาดทุนไทยให้มากยิ่งขึ้นซึ่งส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจไทยและระบบเศรษฐกิจโลกดังปรากฏในปัจจุบัน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
แก้วตา จันทรานุสรณ์. (2554). การสร้างตนและการสั่งสมทุนทางวัฒนธรรมของคนไทยเชื้อสายจีน. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์, 28(3), 125-148.
ชัยพร พยาครุฑ. (2565). การเคลื่อนย้ายทุนและแรงงานจีนใหม่เข้าสู่ประเทศไทย. วารสารรัฐศาสตร์นิเทศ, 8(1), 135-137.
ณัฐพงศ์ รักงาม. (2565).บทบาทของทุนจีนในการขยายความสัมพันธ์แบบทุนนิยมในระบบเกษตรกรรมของประเทศลาว: กรณีศึกษาสวนกล้วยขนาดใหญ่. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง, 11(1), 88-103.
พรพิมล ศรีธเรศ. (2017). ทุนทางสังคมและวัฒนธรรมไทย – จีน เพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยว เชิงศาสนาและวัฒนธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 8(1), 230-240.
พุทธธิดา มากพูน. (2562). ทุนทางสังคมกับการจัดการการท่องเที่ยวด้านวัฒนธรรมของชุมชนไทย-จีน บ้านชากแง้ว จังหวัดชลบุรี. วารสาร มจร มนุษยศาสตรปริทรรศน์, 5(1), 247-258.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2566). จีน : มหาอำนาจทางเศรษฐกิจในคริสต์ศตวรรษที่ 21. สืบค้น 10 มีนาคม 2566. จาก https://www.stou.ac.th/stouonline/lom/data/sec/Lom12/01-01-03.html.
วันวิสาข์ พลธงชัยสวัสดิ์ และ เทียนทิพย์ บัณฑุพาณิชย์. (2563). ความสัมพันธ์ในองค์กรที่นำไปสู่การทำงานร่วมกันอย่างราบรื่นในธุรกิจร่วมทุน ไทย-จีน ประเภทค้าปลีก–ค้าส่ง. วารสารบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4(1), 21-44.
ศุกันยา ห้วยผัด. (2016). รู้จักจีน: ตลาดทุนและแนวโน้มในอนาคต. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 26(1), 1-13.
สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงปักกิ่ง. (2566). ความสัมพันธ์ไทย-จีน. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2566. จาก https://thaiembbeij.org/th/republic-of-china/thai-relations-china/.
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์, จุฬาภรณ์ ขอบใจกลาง และ หลี่ เหรินเหลียง. (2559). ความสัมพันธ์เศรษฐกิจไทย-จีน ภายใต้การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก. วารสารพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร, 18(2), 127-154.
อรัญญา ศิริผล, ภากร กัทชลี และ Jingyu Li. (2564). บทบาทของรัฐและกลุ่มทุนแพลตฟอร์มจีนในธุรกิจอีคอมเมิร์ซจีน ข้ามแดน:กรณีศึกษาอาเซียนและไทย. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 17(2), 1-30.
เอกนรินทร์ จิรชีวีวงศ์,ทิมทอง นาถจำนง,โชติวัน แย้มขยาย. (2020). การให้โอกาสทางการศึกษาผ่านทุนรัฐบาล สำหรับนักศึกษาต่างชาติ: เครื่องมือหลักในการสร้างซอฟต์พาวเวอร์ของจีน. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 12(2), 238-253.
China Association of Automobile Manufacturers. (2556). สถิตการเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนต์ของจีน. สืบค้น 10 มีนาคม 2566. จาก http://en.caam.org.cn/.
wikimedia.org. (2023). People's Republic of China's Nomimal Gross Domestic Product (GDP) Between 1952 to 2005. Retrieved 2 February 2023. from https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Prc1952-2005gdp.gif.