รัฐ และการปกครองในปรัชญาของเหลาจื่อ: บทวิเคราะห์ว่าด้วยอนาธิปไตย

Main Article Content

เด่นพงษ์ แสนคำ

บทคัดย่อ

บทความนี้ศึกษารัฐและการปกครองในทัศนะของเหลาจื่อ เพื่อให้เหตุผลสนับสนุนความเป็นอนาธิปไตยในปรัชญาของเขา บทความชี้ให้เห็นว่า แนวคิดทางปรัชญาการเมืองของเหลาจื่อนั้นเป็นอนาธฺปไตยมากกว่าที่จะบอกว่าไม่เป็นอนาธิปไตย เขาพยายามที่จะทำให้เห็นสภาวะธรรมชาติของสิ่งทั้งหลายที่ไม่ถูกกระทำจากสิ่งอื่น มนุษย์ในสังคมการเมืองก็เช่นกัน ที่ย่อมไม่ถูกกระทำจากผู้ปกครอง ทั้งนี้ก็เพราะว่ามนุษย์มีธรรมชาติของมนุษย์เอง โดยเฉพาะธรรมชาติที่จะไม่ถูกควบคุม จึงเห็นว่าแนวคิดทางปรัชญาการเมืองของเหลาจื่อมุ่งเน้นการมีอิสระของประชาชนเป็นสิ่งสำคัญยิ่ง นอกจากนี้แนวคิดว่าด้วยรัฐและการปกครองที่ปฏิเสธอำนาจรัฐและอำนาจของผู้ปกครองในเชิงบีบบังคับและกระทำการ แต่อำนาจเหล่านั้นจะต้องเป็นอำนาจเชิงอ่อนของการปกครอง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

สุวรรณา สถาอานันท์. (2556). กระแสธารปรัชญาจีน: ข้อโต้แย้งเรื่อง ธรรมชาติ อำนาจ และจารีต. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์.

เหลาจื่อ. (2562). วิถีแห่งเต๋า (พจนา จันทรสมบัติ, ผู้แปล). กรุงเพทฯ: โอเพ่นโซไซตี้.

Bates, D. (2017). Anarchism. In Paul Wetherly (Eds.). Political Ideologies. (pp. 128-159). Oxford: Oxford University Press.

Bender, F. L. (1983). Taoism and Western anarchism. Journal of Chinese Philosophy, 10(1), 5-26.

Cameron, D. R., Ranis, G., & Zinn, A. (2006). Globalization and self-determination: Is the nation-state under siege?. London: Routledge.

Chi-Chao, L. (2017). History of Chinese political thought: During the early Tsin period. London: Routledge.

Freeden, M. (2003). Ideology: A very short introduction (Vol. 95). Oxford: Oxford University Press.

Graham, A. C. (2015). Disputers of the Tao: Philosophical argument in ancient China. La Salle, IL: Open Court.

Joll, J. (1979). The Anarchists. London: Routledge.

Kelly, R., & McNaughton, N. (2017). Political ideas for A Level: Liberalism, Conservatism, Socialism, Nationalism, Multiculturalism, Ecologism. London: Hachette.

Kinna, R. (2012). Anarchism: a beginner's guide. New York: Simon and Schuster.

LAU, D.C. (1963). Lao Tzu: Tao Te Ching. New York: Penguin Books.

Liu, J. (2006). An introduction to Chinese philosophy: From ancient philosophy to Chinese Buddhism. Oxford: Blackwell.

Murray, B. (1986). Post-scarcity anarchism. Chico, CA: AK Press.

Stamatov, A. (2014). The Laozi and Anarchism. Asian Philosophy, 24(3), 260-278.

Stamatov, A. (2017). The Laozi’s criticism of government and society and a daoist criticism of the modern state. Asian Philosophy, 27(2), 127-149.

Wang, Q. (1997). On Lao Zi’s Concept of Zi Ran. Journal of Chinese philosophy, 24(3), 291-321.

Wilson, C. (1979). Three essays on anarchism (No. 287-288). Orkney: Cienfuegos Press.